การประเมินคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎร ตามมาตรฐานภาครัฐ โดยใช้ระบบการบริการประชาชนและภาคเอกชน (Services System) P.S.O.1107 ของสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลนาแก้ว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
คำสำคัญ:
การประเมินคุณภาพ, การให้บริการทะเบียนราษฎร, มาตรฐานภาครัฐระบบบริการประชาชนและภาคเอกชน P.S.O 1107, quality assessment, citizen registration service, the governmental standard using the P.O.S. 1107 services systemบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการงานทะเบียนของสำนัก ทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลนาแก้ว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง รวบรวมข้อมูลโดยการแบบสอบถาม จากกลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 290 คน
ผลการศึกษา การให้บริการประชาชนของสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาล ตำบลนาแก้ว อำเภอเกาะคา จังหวัด ลำปาง ตามมาตรฐานภาครัฐ P.S.O.1107 ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าคุณภาพการให้บริการของสำนักงานทะเบียนท้อง ถิ่นเทศบาลตำบลนาแก้วตามมาตรฐานภาครัฐโดยใช้ระบบการบริการประชาชนและภาคเอกชน (P.S.O.1107) ในภาพ รวมมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก ( = 4.00) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านประสิทธิภาพมีการประเมินคุณภาพ การให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.24) ส่วนด้านคุณภาพ ( = 4.15) ความทั่วถึง ( = 3.48) ความเสมอภาค ( = 4.12) ความเป็นธรรม ( = 3.84) สนองตอบความต้องการ( = 4.10) สนองตอบความพึงพอใจ ( = 4.20) ความต่อเนื่อง ( = 3.95) ความสะดวกสบาย ( = 3.95) และความพร้อมให้บริการ ( = 3.89) มีการประเมินคุณภาพ การให้บริการอยู่ในระดับมาก
Abstract
The objective to study the opinions of the people concerning the citizen registration services of the NSMLRO, Kohkha district, Lampang province by using questionnaires asking a sample group of 290 persons. The results of the public services of the NSMLRO, Nakaew sub-district, Kohkha district, Lampang province according to the governmental standards P.S.O. 1107 Services System revealed that the respondents thought the overall services quality of the NSMLRO according to the P.S.O. 1107 was at level high (X = 4.00) and when considered each side, it was found that the efficiency side was assessed at level highest (X = 4.24) and for the sides of quality (X = 4.15), inclusion (x = 3.48), equality (x = 4.12), fairness (X = 3.84), responsive to needs(X = 4.10), response to satisfaction (X = 4.20), continuity (X = 3.95), convenience (X = 3.95), and readiness to service (X = 3.89) were assessed at level high.
Downloads
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง