การเพิ่มมูลค่าให้กับการตรวจสอบภายในสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
คำสำคัญ:
การตรวจสอบภายใน, การเพิ่มมูลค่า, ความเชื่อมั่น, ความเที่ยงธรรม, ความเป็นอิสระ, สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการปรับปรุงและพัฒนาสถานะการดำเนินงานการตรวจสอบภายใน ประกอบด้วย การเพิ่มคุณค่าการตรวจสอบภายใน การเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการดำเนินงาน และการเพิ่มประสิทธิภาพทางการเงิน โดยเฉพาะแผนงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุด และการปรับปรุงการดำเนินงานทั้งหมด ในการศึกษาและการตรวจสอบภายในช่วยให้สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรสามารถระบุและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการดำเนินงานทั้งหมดขององค์กร และปรับปรุงกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลมากขึ้นในทุกด้านเป็นการสื่อสารให้ความเชื่อมั่นต่อหน่วยงานว่าการตรวจสอบภายใน จะดำเนินไปด้วยความเที่ยงธรรมซึ่งเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Add Value) ให้กับหน่วยงานและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้หน่วยงานสามารถปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ซึ่งการตรวจสอบภายใน จะดำเนินงานในรูปแบบของการให้คำปรึกษาแนะนำหรือการรายงานเป็นลายลักษณ์อักษรหรืออื่น ๆ ที่เห็นสมควร โดยความมุ่งมั่นที่จะให้การดำเนินงานของหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าหมายตามที่วางไว้ และเป็นไปตามความคาดหวังของผู้บริหารที่มีต่อหน่วยงานตรวจสอบภายในของสำนักงาน
References
กระทรวงการคลัง. (2561). คู่มือการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานราชการ. https://psdg.mof.go.th/th/view/attachment/file/
ชเนตตี พุ่มพฤกษ์. (2567). การสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงในองค์กรสู่การยกระดับการพัฒนาทักษะเฉพาะทางเพื่อการบริหารงานภายในองค์กรอย่างยั่งยืน. RMUTT Global Business and Economics Review, 19(1), 166-167
เดชา ศิริสุทธิเดชา. (2022). การตรวจสอบภายในเพื่อเพิ่มมูลค่าสำหรับหน่วยงานองค์การมหาชน. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน). (2564). กฎบัตรการตรวจสอบภายใน. สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน). (2565a). รายงานทางการเงิน รอบปีบัญชี 2564. สำนักงานพิพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน).
สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน). (2565b). ข้อบังคับคณะกรรมการสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและการตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2565. สำนักงานพิพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน).
อรพินท์ รัตนโชติพานิช. (2560). การพัฒนาบทบาทการตรวจสอบภายในภาครัฐสมัยใหม่. เอกสารทางวิชาการ กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมวิชาการเกษตร, 5(1) 116-119.
เอกชัย อาชาพิพัฒน์. (2559). บทบาทหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายในยุคใหม่. https://www.spu.ac.th/uploads/contents/20161124150928.pdf
Faiteh, A, & Aasri, Mohammed R. (2022). Internal Audit and Added Value: What is the Relationship? Literature Review. Universal Journal of Accounting and Finance, 10(3), 666-675.
Institute of Internal Auditors. (2017). International Professional Practices Framework (IPPF). The IIA Research Foundation.
Angelova, B. & Koleva, B. (2015). The Role of Internal Audit in Rink Management System of the Companies. Economic Development/Ekonomiski Razvoj, 17(3), 1-10.
Kogan, A. & Vasarhelyi, M. A. (2017). Big Data and Analytics in the Modern Audit Engagement: Research Needs. Auditing: A Journal of Practice & Theory, 36(4), 1-27.
Fortvingler, J. & Szívós, L. (2016). Different Approaches to Fraud Risk Assessment and Their Implications on Audit Planning. Periodica Polytechnica: Social & Management Sciences, 24(2), 102-112.
Theodore, J. M., Rajendra P. S. & Arnold, M. W. (2017). Fraud Risk Assessment Using the Fraud Risk Model as A Decision Aid. Journal of Emerging Technologies in Accounting, 14(1), 37-56.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง