การมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาและ 2) หาแนวทางพัฒนาการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน 116 คน และผู้ทรงคุณวุฒิในการสัมภาษณ์ จำนวน 5 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.81 และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1) การมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก
2) แนวทางพัฒนาการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ พบว่า ควรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย เป้าหมาย คิด ดำเนินการและประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมการประเมินผล พบว่า ให้มีส่วนร่วมบริหารโรงเรียน กำหนดนโยบาย เป้าหมาย คิด ตัดสินใจ ดำเนินการประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมการประเมินผล พบว่า ให้มีส่วนร่วมประเมินผล รับผิดชอบ คิด ทำงานเป็นระบบ ติดตามประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ พบว่า ให้มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ รับรู้และดูแลรักษาผลประโยชน์ของโรงเรียน
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กาญจนา วัธนสุนทร. (2556). การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร : เอ็ดดูมีเดียพับซิ่ง.
จิรายุ พรหมจักร. (2558). การพัฒนาแนวทางการบริหารแบบมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชัยอานนท์ แก้วเงิน. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี.
ชำนาญ อุดมนิวิ (2558) แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ธันยาภัทร์ เทียนธนาทิพย์และธรินธร นามวรรณ. (2563). การพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7, (กรกฎาคม) ; 184-185
ธรรมรัตน์ พงษ์ทอง. (2559). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนในเขต อำเภอแก่หางแมวสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต1.วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
พจนารถ วาดกลิ่น. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับการดำเนินงานด้านวิชาการโรงเรียนในสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (2542) ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116,ตอนที่ 74 ก (19 สิงหาคม 2542) : 12-13
พรเทพ เหมรานนท์. (2564). การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ. ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี.เขต 1และเขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
พิณสุดา สิริธรังศรี. (2558). แก่นการจัดการศึกษา ชุดโครงการการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม : การศึกษาเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์.
ยุพา บุญอนันต์. (2557). การพัฒนาระบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏวลัยอลงกรณ์.
สุจิตรา ประจงกูล และคณะ. (2558). “การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์เขต 2”. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุภัททา อินทรศักดิ์. (2561). การนำเสนอรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.
สุธาทิพย์ ทั่วจบ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารและครู กับประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
เสาวนีย์ เดือนเด่น และคณะ. (2558). การมีส่วนร่วมในการทำงานของบุคลากร. กรุงเทพมหานคร :มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561).แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 – 2580. กรุงเทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิค.