รูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดเข้าใจเข้าถึงพัฒนาของโรงเรียนบ้านเมืองแก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด ได้แก่ ครู จำนวน 14 คน 2) สร้างรูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ครูต้นแบบ จำนวน 5 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบสอบถามประเมินระบบ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ลำดับความต้องการจำเป็น PNI Modified ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด ความต้องการจำเป็น ด้านเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ตามลำดับ 2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ประกอบด้วย 5 ส่วน ดังนี้ 1) หลักการและวัตถุประสงค์ 2) เนื้อหาของรูปแบบ มี 3 หน่วย ได้แก่ (1) เข้าใจ (2) เข้าถึง และ (3) พัฒนา 3) กลไกของรูปแบบ 4) การประเมินผล และ 5) เงื่อนไขความสำเร็จ ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด
Article Details
References
กาญจนา จันทะโยธา (2560). การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่มีตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คมกริช ภูคงกิ่ง (2560). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่มีตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชนกพร จุฑาสงฆ์. (2559). การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่มีตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ทิศนา แขมมณี. (2546). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีระ รุญเจริญ. (2546). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง.
ธีระชัย แสนแก้ว และเด่น ชะเนติยัง. (2560). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กด้านวิชาการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 11(1), 117-131.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 9). สุวีริยาสาส์น.
ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์. (2545). TQM ภาคปฏิบัติ. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2555). การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : พื้นฐานการศึกษาด้านเศรษฐกิจสังคมสิ่งแวดล้อม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ไทยสัมพันธ์.
มูลนิธิมั่นพัฒนา. (2560). พอเพียงเพื่อยั่งยืน. บริษัท ภาพพิมพ์ จำกัด.
รุ่ง แก้วแดง. (2544). การปฏิวัติการศึกษาไทย. มติชน.
ศราวุฒิ สนใจ. (2561). การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่มีตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2017). หลักการศาสตร์พระราชาใน 6 มิติ (หลักความรู้ 6 มิติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอดุลยเดช). ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงศึกษาธิการ.
สมบัติ นพรัก. (2561). ศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาวิทยาการจัดการ (ปรัชญาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร). อัมรินทร์ปริ้นติ้ง.
สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2560). รายงานของคณะกรรมการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา สภาขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศ เรื่อง “การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิรูปประเทศ”. โรงพิมพ์รัฐสภา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). รายงานประจำปี 2561. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์. (2560). การนิเทศเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา. สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์.
สิงห์ สิงห์ขจร. (2558). แนวทางพระราชดำริ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา กับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรแนวทางพระราชดำริ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา กับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 5(2), 119-129.
สิริกาญจน์ กาญจนสุวรรณ. (2564). การพัฒนารูปแบบเครือข่ายชุมชนความร่วมมือเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่มีตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2554). หลักการ ทฤษฎีและแนวปฏิบัติทางการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุปราณี อรรถประจง. (2562). โปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารจัดการชั้นเรียนสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่มีตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุเมธ ตันติเวชกุล. (2555). ตามรอยพระราชาของแผ่นดิน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรุโณทัย ระหา (2560). การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้สมองเป็นฐาน (BBL) ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่มีตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ฮิโตชิ คูเมะ. (2540). การบริหารจัดการคุณภาพ (MBQ). สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
Bardo, J.W. and J.J. Hartman. (1982). Urban society: A systemic introduction. peacock.
Deming, W.E. (1986). Out of the Crisis. Cambridge. Massachusetts Institute of Technology.
Keevep, P.J. (1988). Educational research, methodology and measurement international handbook. Pergamon Press.