ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเฟชบุ๊กในกรุงเทพมหานครที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเฟชบุ๊กในกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

กิตติอำพล สุดประเสริฐ
นภาพร ขันธนภา
ชัยฤทธิ์ ทองรอด

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับเทคโนโลยี การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความเสี่ยง ความตั้งใจของผู้ใช้งาน และพฤติกรรมของผู้ใช้งานในการซื้อสินค้าและบริการผ่านเฟซบุ๊กในกรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ในเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ใช้เฟซบุ๊กในการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการในเขตกรุงเทพมหานคร ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 700 ราย ในเชิงคุณภาพกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ประกอบการหรือผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการขายสินค้าออนไลน์ผ่าน Facebook จำนวน 15 ราย และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลแบบการตีความ เพื่อยืนยันผลการวิจัยเชิงปริมาณภายหลังประมวลผล ด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบสะดวก


ผลการวิจัยพบว่า


พฤติกรรมของผู้ใช้งานเป็นปัจจัยอันดับแรกที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้ใช้งานในเฟสบุค รองลงมาคือ การยอมรับเทคโนโลยี การรับรู้ความเสี่ยง ความตั้งใจของผู้ใช้งาน และการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ตามลำดับ ซึ่งผลการสัมภาษณ์ได้สนับสนุนว่า พฤติกรรมของผู้ใช้งานเป็นส่วนสำคัญในการสร้างยอดขายเนื่องจากผู้ใช้เฟซบุ๊กหรือผู้บริโภคส่วนใหญ่มักจะชอบอ่านรีวิวจากผู้ที่มีประสบการณ์กับสินค้าเหล่านั้น โดยเฉพาะประสบการณ์ด้านความพึงพอใจจากการใช้เฟซบุ๊กในการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการ

Article Details

How to Cite
สุดประเสริฐ ก., ขันธนภา น., & ทองรอด ช. (2023). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเฟชบุ๊กในกรุงเทพมหานครที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเฟชบุ๊กในกรุงเทพมหานคร. วารสารนวัตกรรมสังคมและเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน, 6(3), 1–9. https://doi.org/10.14456/jsmt.2023.17
บท
บทความวิจัย

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2552). สถิติสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 4). ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิจติวัฒน์ รัตนมณี. (2565). การรับรู้และการจัดการความเสี่ยงในการซื้ออาหารผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 5(3), 171-179.

จินดา แก้วแทน (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิสก์ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟน : กรณีศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปทุมธานี. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.

ชุมแพร บุญยืน และคณะ (2561).ทฤษฎีการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารช่อพะยอม, 29(1), 359 – 371.

พิชญ์นรี แสนขัติ.(2562).ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการตั้งใจใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบูรณาการการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21.วารสารบัณฑิตศึกษา, 12(2), 73 – 88.

พนม คลี่ฉายา. (2563). ความผูกพัน ความเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์และความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันของประชาชน.คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพงค์ พรเดชเดชะ และ สุุพิชา บูรณะวิทยาภรณ์. (2565). ส่วนผสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการซ้ำร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทอิซากายะในกรุงเทพมหานคร, วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 5(4), 22-35.

มัณฑิตา จินดา. (2563). ใช้ Facebook ถูกวิธี ยอดขายดีขึ้น 100 เท่า. ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.

AbuShanab, E., & Pearson, J. (2007). Internet banking in Jordan: The unified theory of acceptance and use of technology (UTAUT) perspective. Journal of Systems and information Technology, 9(1), 78-97.

Al-Rahmi, W.M., Othman, M.S. & Yusuf, L.M. (2015) Effect of Engagement and Collaborative Learning on Satisfaction Through the use of Social Media on Malaysian Higher Education. Research Journal of Applied Sciences, Engineering and Technology 9(12), 1132-1142

Akar & Mardikyan (2014). E-marketing excellence: Planning and optimizing your digital marketing. Routledge.

Davis, F. D., Bagozzi, R. P., & Warshaw, P. R. (1989). User acceptance of computer technology: a comparison of two theoretical models. Management science, 35(8), 982-1003.

Hollebeek, L.D. (2010). Consumer engagement across differentially service-oriented wine outlets : Moving beyond consumer involvement to predict loyalty. In U. Waikato (Eds), The 5th International Academy of Wine Business Research Conference. (pp.350- 535). Auckland : New Zealand.

Hootsuite. (2020). สถิติผู้ใช้ดิจิทัลทั่วโลก “ไทย” เสพติดเน็ตมากสุดในโลก-“กรุงเทพ” เมืองผู้ใช้ Facebook สูงสุด. https://www.brandbuffet.in.th/2018/02/global-and-thailand-digital-report-2018/.

Liébana-Cabanillas, F., Singh, N., Kalinic, Z. & Carvajal-Trujillo, E. (2021) Examining the determinants of continuance intention to use and the moderating effect of the gender and age of users of NFC mobile payments: a multi‑analytical approach Information Technology and Management (2021) 22, 133–161

Martin, S. S., & Camarero, C. (2007). Consumer Trust to a Web Site: Moderating Effect of Attitudes toward Online Shopping. multimedia and virtual reality on behavior and society, 11(5), 549-54

Maslow, A. (1970). Human needs theory: Maslow’s hierarchy of human needs. In R.F. Craven & C. J. Hirnle (eds.), Fundamental of nursing: human health and function (3rd ed.) Lippincott.

Venkatesh, V., Thong, J. Y. L., & Xu, X. (2012). Consumer acceptance and use of information technology: Extending the unified theory of acceptance and use of technology. MIS Quarterly, 36(1), 157–178.

Anugrah, F.T (2020). Effect of Promotion and Ease of Use on Customer Satisfaction and Loyalty on OVO Application Users Quantitative. Economics and Management Studies (QEMS), 2020, 1(1),44–50

Rogers, Everett M. (2003). Diffusion of Innovations. 5th ed. Free Press A Division of Simon & Schuster, Inc.