Imaginations and Reflections of Social Activities : Journey and Transportation Scenes in Traditional Thai Mural Paintings of Rama III’s Reign

Authors

  • Dinar Boontharm

Keywords:

-

Abstract

The aim of this research article is to examine various scenes of journeys and transportations depicted in classical Thai mural paintings of Rama III’s reign (A.D. 1824-1851), in which great changes in terms of concept and technique were introduced to classical mural paintings. Mural paintings from different royal monasteries of the third reign, mostly in Bangkok, are surveyed in order to pick the journey and transportation scenes. Journeys and transportations in various ways can be observed in these mural paintings. The results of the research lead to the division of journeys and transportations in the studied mural paintings into two types. The first type sees the scenes of real journeys and transportations, no matter the travelers are the Buddha and his disciples, kings and their entourages, merchants and city dwellers or even soldiers and slaves; what kind of vehicles these travellers used or what the purposes of making the journeys shall be. All the journey scenes in the mural paintings do reflect the journeys and transportations which accurately appear in social life of the Thais during the Early Bangkok Period. The second type of the journey scenes are surreal journeys, mostly by mean of flying. Flying is mentioned in Buddhist texts as the way of making journey for those who had fully accumulated their perfections or those who had gained enlightenment. The Buddha and his Aranhanta disciples, the Chakravatti universe kings and angels are exemplified as the ones who have magic power to make their flying journeys.

Author Biography

Dinar Boontharm

Lecturer, Department of History, Faculty of Arts, Chulalongkorn University

References

กรมศิลปากร. พระพุทธประวัติจากจิตรกรรมฝาผนัง พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๒๒.

กองทัพบก. มหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์. กรุงเทพฯ : กองทัพบก, ๒๕๓๑.

กองโบราณคดี กรมศิลปากร. สรุปผลการสัมมนาเรื่อง การอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนังและการอนุรักษ์พระพุทธรูป. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้งเฮ้าส์, ๒๕๓๓.

ไขแสง ศุขะวัฒนะ. การศึกษาอิทธิพลของสถาปัตยกรรมจีนที่มีต่อสถาปัตยกรรมในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๑.

ไขแสง ศุขะวัฒนะ. การวิจัยเพื่อทราบปีที่สร้างและปฏิสังขรณ์พระอารามที่มีลักษณะสถาปัตยกรรมเลียนแบบจีนในตอนปลายรัชกาลที่ ๒ และตลอดรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์จุฬาฯ, ๒๕๒๓.

ไขแสง ศุขะวัฒนะ. วัดพุทธศาสนาที่ได้รับอิทธิพลศิลปะจีนในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๖.

ชลูด นิ่มเสมอ. การเข้าถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปกร, ๒๕๓๒.

ชมพูนุท พงษ์ประยูร. จิตรกรรมไทย. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๑๒.

ทิพากรวงศ์, เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๐๔.

ทอม เชื้อวิวัฒน์. พุทธประวัติจากจิตรกรรมฝาผนังไทย. กรุงเทพฯ : เอเซียบุ๊คส์, ม.ป.ป.

น. ณ. ปากน้ำ . ศิลปะจีนและคนจีนในไทย. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๐.

นันทนา กปิลกาญจน์. การวิเคราะห์ในเชิงประวัติศาสตร์ เรื่องการเมืองการปกครองในรัชกาลสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว : พ.ศ.๒๓๖๗-๒๓๙๔ กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๒.

นิวัติกองเพียร. วัดโพธิ์บางโอ [จุลสาร]. ๒๕๔๓.

แน่งน้อย ศักดิ์ศรี. สถาปัตยกรรมพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพฯ : สำนักราชเลขาธิการ, ๒๕๓๑.

ประทุม ชุ่มเพ็งพันธ์. รัชกาลที่ ๓ กับการสร้างวัดสำคัญกำเนิดตุ๊กตาศิลาจีน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก, ๒๕๔๔.

ปรุงศรี วัลลิโภดม. วรรณวิจิตรจากนิบาตชาดก เล่ม ๑, ๒ และ ๓. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๔๕.

ปัญญา บริสุทธิ์. การศึกษาสภาพสังคมไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จากเอกสารสำคัญทางวรรณคดีในสมัยนั้น. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๘.

ปัญญา บริสุทธิ์. งานวิจัยเรื่อง การศึกษาเชิงวิเคราะห์วัฒนธรรมไทย สมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๙๔. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๒๙.

ผู้เฒ่าเล่ามา (นามปากกา). ตำนานวัตถุสถานต่าง ๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนา และกรมสมเด็จพระศรีสุลาไลย พระบรมราชชนนีพันปีหลวง. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ, ๒๕๓๐.

พระมหาสุรพล ชิตญาโณ. โบสถ์วัดโพธิ์ กรุงเทพฯ : มูลนิธิ“ทุนพระพุทธยอดฟ้า” : วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, ๒๕๔๒.

พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ. ขุนช้างขุนแผน : เสภาฉบับหอสมุดแห่งชาติ. พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๔๙๓.

พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ. บทละครเรื่อง อิเหนา / พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ. พระนคร : โรงพิมพ์ไทย, ๒๔๖๔.

พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ. บทละครนอก : พระราชนิพนธ์ รัชกาลที่ ๒. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๓๐.

พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ. รามเกียรติ์/บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร, ๒๕๑๐.

เพ็ญศรี ดุ๊ก และจุลทัศน์ พยาฆรานนท์. แบบอย่างและวิวัฒนาการของจิตรกรรมฝาผนัง ๒๐๐ ปี. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๕.

มหาวิทยาลัยศิลปากร. ๒๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๑.

มี (มหาดเล็ก), นาย. กลอนเพลงยาวสรรเสริญพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการเฉลิมพระเกียรติ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ๒๕๓๐.

สน สีมาตรัง. จิตรกรรมฝาผนังสกุลช่างรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๒.

สมภพ ภิรมย์. อัครมหาราชาสถาปนิกแห่งกรุงสยาม. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ., ๒๕๒๙.

สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา. กรุงเทพฯ : สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยและคณะกรรมการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๒๙.

สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. โคลงนิราศสุพรรณ. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๑๐.

สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. นิราศสุนทรภู่. พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๑๓.

สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. ประชุมสุภาษิตสุนทรภู่และสุภาษิตสอนสตรี. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๐๘.

สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. พระอภัยมณี : คำกลอนของสุนทรภู่. นครหลวงฯ : กรมศิลปากรอนุญาตให้ศิลปาบรรณาคารพิมพ์จำหน่าย, ๒๕๑๕.

สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. รำพันพิลาป. [ม.ป.ท.] : โรงพิมพ์ปอทง, ๒๔๘๑.

สุวรรณ, คุณ. บทละคอนเรื่อง พระมะเหลเถไถ เรื่องอุณรุทร้อยเรื่อง เรื่องระเด่นลันได กลอนเพลงยาว เรื่อง หม่อมเป็ดสวรรค์ เรื่อง พระอาการประชวนของกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๑๑.

สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. วัดคงคาราม. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๑.

สำนักพิมพ์เมืองโบราณ. มหรสพและการเล่นในจิตรกรรมฝาผนัง. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๒๔.

สำนักพิมพ์เมืองโบราณ. จิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย ชุดที่ ๔. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๔.

วราภรณ์ จิวชัยศักดิ์. นโยบายทางด้านเศรษฐกิจของรัฐในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว : รายงานผลการวิจัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔.

วัดพระเชตุพน. ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ฉบับสมบูรณ์. พระนคร : ผ่านฟ้าพิทยา, ๒๕๑๐.

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. จิตรกรรมไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๒๓.

สันติ เล็กสุขุม และกมล ฉายาวัฒนะ. จิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิเจมส์ ทอมป์สันให้ทุนจัดพิมพ์จากรายงานผลการวิจัยของสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๔.

อุดมสมบัติ, หลวง. จดหมายหลวงอุดมสมบัติ. นครหลวงฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๑๕.

Hong, Lysa. Thailand in the nineteenth century : evolution of the economy and society. Singapore : Institute of Southeast Asian Studies, 1984.

Vella, Walter Francis. Siam under Rama III, 1824-1851. Locust Valley, N. Y. : Published for the Association for Asian Studies by J. J. Augustin, 1957.

Wales, H. G. Quaritch. Siamese State Ceremonies. [S.l. : s.n.], 1931.

Downloads

Published

14-03-2023

How to Cite

Boontharm, D. (2023). Imaginations and Reflections of Social Activities : Journey and Transportation Scenes in Traditional Thai Mural Paintings of Rama III’s Reign. Journal of Thai Studies, 9(1), 61–101. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/TSDJ/article/view/263630

Issue

Section

Research article

Categories