Developing of Thai Merchant Marine

Main Article Content

Sunanta Charoenpanyaying

Abstract

This article aims to study the history of the Thai Merchant Marines, which is a form activity of international trade that developed since ancient times and which prospered in the Ayutthaya, Thonburi and early Rattanakosin eras. With the advantage of the location of the capital city in the lower Chao Phraya River, Ayutthaya became a major port of trade and shipbuilding center. The “Monopoly System” of the royal warehouse was an important trade policy, as well as the role of the merchant marines of the Chinese people, which brought prosperity to the country. When the trading system of the monopoly for commercial products broke up, the Thai Merchant Marines was transformed from the government sector to the private sector. As a result, the development of Thai Merchant Marines adjusted to be competitive with foreign trade.

Article Details

How to Cite
Charoenpanyaying, S. (2023). Developing of Thai Merchant Marine. Journal of Thai Studies, 9(2), 191–228. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/TSDJ/article/view/263679
Section
Research article
Author Biography

Sunanta Charoenpanyaying

Researcher, Institute of Transportation, Chulalongkorn University

References

กลุ่ม สยามของเรา. การค้าต่างประเทศ: การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม สมัยกรุงศรีอยุธยา [สายตรง] แหล่งที่มา:http://www.oursiam.in.th/content/view.php?code=๐๑๐๑๑-๑๑๖๑๕๑๘๗๒๒-๐๑๒๖ [๘ สิงหาคม ๒๕๕๕ ]

การขนส่ง, สถาบัน. โครงการผลักดันการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือแบบครบวงจร. กรุงเทพฯ: สถาบันการขนส่ง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐.

คุชแมน, เจนนิเฟอร์ เวย์น. การค้าทางเรือสำเภาจีน-สยาม ยุคต้นรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๘.

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย [สายตรง] แหล่งที่มา:http://social-history.exteen.com/๒๐๑๐๑๑๑๗/entry [๓ เมษายน ๒๕๕๕]

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา [สายตรง] แหล่งที่มา: http://www.thaigoodview.com/node/๓๘๖๑๖ [๔ เมษายน ๒๕๕๕]

คำให้การขุนหลวงวัดประดูทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทยฯ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๓๔.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๓๓ บุรพภาคพระธรรมเทศนาเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๙.

จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์. ขุนนางกรมท่าขวา : การศึกษาบทบาทและหน้าที่ในสมัยอยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ. ๒๑๕๓-๒๔๓๕. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์จุฬาฯ, ๒๕๔๖.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. สยามพาณิชย์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. สมุทรปราการ: มูลนิธิโตโยต้าแห่งประเทศไทย, ๒๕๔๕.

แชน ปัจจุสานนท์. ประวัติการทหารเรือไทย. ธนบุรี: โรงพิมพ์กรมสารบรรณทหารเรือ, ๒๕๐๙.

ดิเรก กุลสิริสวัสดิ์. สำเภากษัตริย์สุลัยมาน : ฉบับย่อ = The ship of Sulaiman. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, ๒๕๒๗.

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. อยุธยาเมืองท่านานาชาติ [สายตรง] แหล่งที่มา: http://ayutthayastudies.aru.ac.th/content/view/๔๒๖/๓๒/[๖ เมษายน ๒๕๕๕]

นิธิ เอียวศรีวงศ์. ปากไก่และใบเรือว่าด้วยการศึกษาประวัติศาสตร์-วรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิงจำกัด, ๒๕๓๘.

บรรพต สุดแสวง. กิจการพาณิชย์นาวีของไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทไทยเดินเรือทะเลจำกัด, ๒๕๑๘.

บังอร ปิยะพันธุ์. ประวัติศาสตร์ไทย : การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์กับต่างประเทศก่อนสมัยสุโขทัย จนถึง พ.ศ. ๒๔๗๕. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๘.

ไผทชิต เอกจริยกร. กฎหมายพาณิชยนาวี. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, ๒๕๕๓.

พิพิธภัณฑ์เรือจิ๋ว (อู่เรือจิ๋ว) มีนบุรี [สายตรง] แหล่งที่มา: http://mini-ship.blogspot.com/๒๐๑๒/๐๓/blog-post_๓๓๙๕.html [๓ เมษายน ๒๕๕๕]

พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร. สำเภาสยาม ตำนานเจ๊กบางกอก. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์, ๒๕๔๔.

ไพฑูรย์ ขาวมาลา. เรือไทย. อยุธยา: วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ พระนครศรีอยุธยา, ๒๕๓๗.

มิตรภาพไทย-อิหร่าน : ความสัมพันธ์อันดีที่ใกล้ชิดกว่า ๔๐๐ ปี. กรุงเทพฯ : สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงเตหะราน, ๒๕๔๘.

รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๔๖.

ราชภัฎนครศรีอยุธยา, มหาวิทยาลัย. ความสำคัญของเอกสารของชาวต่างประเทศต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยาเมืองมรดกโลก [สายตรง] แหล่งที่มา: http://www.ayutthayastudies.aru.ac.th [๓ เมษายน ๒๕๕๕]

วราภรณ์ จิวชัยศักดิ์. นโยบายทางด้านเศรษฐกิจของรัฐในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗.

วราภรณ์ ทินานนท์ “การค้าสำเภาของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์, มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๒.

วิจิตรมาตรา, ขุน. ประวัติการค้าไทย. พระนคร: โรงพิมพ์บรรณาคม, ๒๕๑๔.

วิจิตรมาตรา, ขุน. ประวัติการค้าไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๔. พระนคร: รวมสาส์น, ๒๕๑๖.

เวย์น คุชแมน, เจนิเฟอร์. การค้าทางเรือสำเภาจีน-สยาม ยุคต้นรัตนโกสินทร์. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๘.

สรรพากร, กรม. ประวัติการจัดเก็บภาษี: การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. ๑๘๙๓ - พ.ศ. ๒๓๑๐) [สายตรง]: แหล่งที่มา:http://www.rd.go.th/[๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕]

สายสัมพันธ์ ๔๐๐ ปีไทย-เนเธอร์แลนด์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗.

สารสิน วีระผล. จิ้มก้องและกำไร: การค้าไทย-จีน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย, ๒๕๔๘.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงสุโขทัยมาจากไหน. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๘.

สุเนตร ชุตินธรานนท์. ประวัติการคมนาคมไทย. (เอกสารส่วนบุคคล)

สุเนตร ชุตินธรานนท์. พม่ารบไทย ว่าด้วยการสงครามไทยระหว่างไทยกับพม่า. พิมพ์ครั้งที่ ๑๐. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๔.

สุมาลี สุขดานนท์และคณะ. การศึกษาประเมินสถานการณ์การใช้ท่าเรือไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๕๒.

สุมาลี สุขดานนท์. พาณิชยนาวีไทย : ความสำเร็จหรือความล้มเหลว [สายตรง] แหล่งที่มา: http://rescom.trf.or.th/[๓ เมษายน ๒๕๕๕]

สุวัฒน์ แซ่คั่น. ตลาดเรือในท้องน้ำ : ร่องรอยในแผนที่อยุธยาโบราณ [สายตรง] แหล่งที่มา: http://haab.catholic.or.th/article/muang%๒๐boran/muang_boran๑/muang_boran๑.html [๖ เมษายน ๒๕๕๕]

๑๐ ปีท่าเรือแหลมฉบัง. การท่าเรือ (มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔) หน้า ๗๓

สำนักพิมพ์แม็ค, บริษัท. การค้าระหว่างประเทศสมัยอยุธยา [สายตรง] แหล่งที่มา: http://www.maceducation.com/e-knowledge/2423112110/04.htm [๕ เมษายน ๒๕๕๕]

๖๐ ปีแห่งการสถาปนา สาธารณรัฐประชาชนจีน ประชาชนชาวไทย-จีนร่วมเฉลิมฉลองด้วยไมตรี [สายตรง] แหล่งที่มา: http://www.oknation.net/blog/mindhand/๒๐๐๙/๐๘/๓๐/entry-๑ [๓ เมษายน ๒๕๕๕]

อนุมานราชธน, พระยา. ตำนานศุลกากร. พระนคร: กรมศิลปากร, ๒๕๐๖.

เอิบเปรม วัชรางกูล. ประวัติศาสตร์การพาณิชย์นาวีไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมาพันธ์จำกัด, ๒๕๔๔,

โอะอิชิอิ, โนเนะ และโยชิกาวะ. ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น ๖๐๐ ปี. พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๔๒.