การสร้างคุณค่าของแบรนด์ของธุรกิจบนตลาดออนไลน์

Main Article Content

พิทยุช ญาณพิทักษ์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ 1.ศึกษากลยุทธ์การตลาดเพื่อสร้างแบรนด์บนตลาดออนไลน์ 2.การสร้างคุณค่าแบรนด์ หรือตราสินค้าของธุรกิจบนตลาดออนไลน์ โดยพบว่า 1) กลยุทธ์การตลาดเพื่อสร้างแบรนด์บนตลาดออนไลน์ คือ การทำงานเพื่อส่งเสริมธุรกิจหรือบริษัทในสื่อออนไลน์ ในฐานะเครื่องมือทางการตลาดการโต้ตอบผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สร้างระบบสื่อสารแบบสองทางระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย การสื่อสารโต้ตอบทางการตลาดแบบบูรณาการ สร้างบทสนทนาและการสื่อสารกับลูกค้าเฉพาะบางกลุ่มที่เหมาะกับโครงการการทำให้เกิดไวรัล มาร์เก็ตติ้ง โฆษณารูปแบบใหม่ คลิปเสียง บทความรีวิวสินค้าหรือบริการของตราสินค้า 2) การสร้างคุณค่าแบรนด์ หรือตราสินค้า โดยการนำความคิดสร้างสรรค์ผสมผสานเข้ากับแบรนด์ เป็นเอกลักษณ์ ความซาบซึ้งให้คุณภาพของแบรนด์ สร้างปัจจัยเชื่อมโยงแบรนด์กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การมีส่วนร่วมที่เป็นเฉพาะการสร้างระดับความสัมพันธ์รับรู้ความต้องการของผู้ใช้บริการ สร้างความซื่อสัตย์ต่อแบรนด์ และปัจจัยอื่น ๆ ที่ทำให้แบรนด์มีคุณค่า เช่น ความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งการสร้างมาตรฐานสินค้า การได้รับรางวัลของสินค้า ฯลฯ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กะรัตเพชร บุญชูวิทย์ และ วรัชญ์ ครุจิต. (2561).การศึกษาการสื่อสารแบรนด์ของคุมะมงผ่านสื่อออนไลน์, วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิด้า,4(1),43-61.

เกศินี บัวดิศ และกัลยา พิมพ์เพราะ. (2564). การสร้างแบรนด์ให้ประสบความสําเร็จด้วยเครื่องมือนวัตกรรมทางการสื่อสารการตลาด, วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,11(2).308-320.

ฐิติพันธ์ เผ่าทรง.(2559).การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอภูมิปัญญาของชาวไทยทรงดําในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(1),181-192.

ณัฐสินี กรรโมทาร. (2562).กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดดิจิตัลของร้านค้าผลิตภัณฑ์ความงามอีฟแอนด์บอย (EVEANDBOY) บนอินตราแกรมสตอรี่ (Instagram stories) กับรูปแบบการดำเนินชีวิต การใช้สื่อ และพฤติกรรมตอบสนองของผู้ใช้งาน, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ปิ่นปินัทธ์ จ่าดา. (2562).การทำแบรนด์ในยุคดิจิทัล. วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี, 5(1),67-73.

ฤทธิ์เดชา ตาบุญใจ. (2562).กลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดออนไลน์ที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมผู้บริโภค : กรณีศึกษาการขายเสื้อผ้าแฟชั่นสตรีผ่านทางเฟซบุ๊ก, การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิจิตรา ดีจันดา.(2561). อิทธิพลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ประเภทเสื้อผ้าออนไลน์ของวัยรุ่นผู้หญิง. สืบค้นเมือ 5 ธันวาคม 2565, จาก http://www.ba-abstract.ru.ac.th/index.php/abstractData/viewIndex/48.ru

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2562).การสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562.สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.etda.or.th/.

สุรชัย ศรีนรจันทร์ และบุหงา ชัยสุวรรณ. (2562).กระบวนการสร้างตราสินค้าและการสื่อสารการตลาดออนไลน์สินค้าเกษตรอินทรีย์.วารสารวิชาการเกษตร, 37(2),177-185.

อลิสา รุ่งนนทรัตน์ชรินทร์สาร. (2561). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ: ต่อให้ติดใกล้ชิดผู้บริโภคในโลก ไร้รอยต่อ. กรุงเทพฯ: แอคทีฟ พริ้นท์.

Anselmsson, J., Burt, S., & Tunca, B. (2017). An integrated retailer image and brand equity framework: Re-examining, extending, and restructuring retailer brand equity. Journal of Retailing and Consumer Services, 38, 194-203.

Bazi, S., Filieri, R., and Gorton, M. (2020). Customers’ motivation to engage with luxury brands on social media. Journal of Business Research,112, 223-235.

Cicero, N. (2017). What We Learned About Instagram Story Performance by Analyzing Over 800 Accounts. https://www.socialmediatoday.com/news/what-we-learned-about-instagram-story-performance-by-analyzing-over-800-acc/510048/

Dirsehan & Kurtuluş. (2018). Measuring brand image using a cognitive approach: Representing brands as a network in the Turkish airline industry. Journal of Air Transport Management, 67, 85-93.

Kotler, Philip. (2011). Marketing Management. (14 th Edition) - Pearson Education Limited,

Kotler, P. & Armstrong, G. (2018). Principles of marketing (17th ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Kotler, P., Kartajaya, H. & Setiawan, I. (2017). Marketing 4.0: Moving from Traditional to Digital. Hoboken. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.

Marketing Schools. (n.d.). (2018). Evangelism Marketing. Retrieved January 28, 2018, from https://goo.gl/MCDsdD.

Philip Kotler and Kevin Keller (2008). Marketing Management + Brand You., Pearson Education, Canada

Rahman, M.S., Hossain, M.A., Hoque, M.T, Rushan, M.R.I., and Rahman, M.I. (2021). Millennials’ purchasing behavior toward fashion clothing brands: Influence of brand awareness and brand schematicity. Journal of Fashion Marketing and Management. 25(1), 153-183.

Rojas-Lamorena, A.J., Salvador Del Barrio-García, and Alcantara-Pilar, J.M. (2022). A review of three decades of academic research on brand equity: A bibliometric approach using co-word analysis and bibliographic coupling. Journal of Business Research. 139, 1067-1083.

Tasci, A.D.A. (2020).A critical review and reconstruction of perceptual brand equity. Journal of Contemporary Hospitality Management. 33(1), 166-198.

Wearesocial. (2561). สถิติผู้ใช้ดิจิทัลทั่วโลก “ไทย” เสพติดเน็ตมากสุดในโลก-“กรุงเทพ” เมืองผู้ใช้ Facebook สูงสุด. สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2565,จาก https://www.brandbuffet.in.th/2018/02/global-and-thailand-digital-report-2018/