เพลงยาววิพากษ์สังคมในสมัยรัตนโกสินทร์ การศึกษาองค์ประกอบในการประพันธ์

Main Article Content

วิลาสินี อินทวงศ์
Cholada Ruengruglikit

Abstract

This article aims to study on components of composition in Phleng Yao as social critique in Rattanakosin period from 1958 to 2007 that the number of them is 20 stories. This study focuses on contents, title techniques and form. It is found that the contents of Phleng Yao as social critique are to criticize individuals and social problems. The individuals, targeted by the criticism, are prominent figures; their behaviors affect people’s living condition. The criticism against social problems falls into 7 categories: social injustice, human trafficking, environmental concerns, expanded urban society, inefficient educational system, dysfunctional government, and problematic policy of the neighboring countries of Thailand. All contents convey the poets’ discontents caused by both individual and social issues.
The title techniques of Phleng Yao as social critique in Rattanakosin period, there are 3 title techniques: titling with the targets of criticism, titling with certain objective, and titling which is inspired by former works within the genre. Referring to Phleng Yao as social critique in Rattanakosin period, there are some different forms from the previous Phleng Yao, that is at the end of the composition without word “Aoei” and adding sub-title in contents.
Regarding of the study, Phleng Yao as social critique of the Rattanakosin period expand its contents and it can reflects the poets’ view toward society. Lastly, it well illustrates problems at that moment.

Article Details

Section
Research Articles

References

กำชัย ทองหล่อ. (2509). หลักภาษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). พระนคร: บำรุงสาส์น.

คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2533). ละครคึกฤทธิ์ 2 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สยามรัฐ.

ชุมนุมเพลงยาวสมัยโบราณ. (ม.ป.ป.). พระนคร: ศึกษานุมิตรสมาคม.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2516). “คำอธิบายตำนาน โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน” ใน บันทึกสมาคมวรรณคดี. ที่ระลึกในการปลงศพนายเดช คงสายสินธุ์ ณ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 24 มิถุนายน 2516. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พระจันทร์.

นเรศ นโรปกรณ์. (2508). คาวกลอน. พระนคร: โอเดียนสโตร์.

นายตำรา ณ เมืองใต้ (นามแฝง). (2484). ปริทรรศน์แห่งวรรณคดีไทย ภาคหนึ่ง-ภาคสอง. พระนคร: กรุงเทพบรรณาคาร.

ประชุมพงศาวดาร เล่ม 37 (ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 63 (ต่อ)). เรื่องกรุงเก่า (พิมพ์ครั้งที่ 4). (2511). พระนคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

พนม นันทพฤกษ์. (2550). เพลงยาวพยากรณ์: กันยมาส 2550. ศิลปวัฒนธรรม, 28(12), 74.

พรพิมล วิสารกาญจน. (2549). การวิเคราะห์กลอนเพลงยาวสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ.2367-2394) (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา), มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.

พัฒจิรา จันทร์ดำ. (2547). การอ่านและการวิจารณ์เรื่องสั้น. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.

มะระ (เอกไท นิลโกสิตย์). (2545). คำคน. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ภาคฉันทลักษณ์. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

ศิริมา เจนจิตมั่น. (2529). การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมคำสอนประเภทกลอนเพลงยาว ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ศิลปากร, กรม. (2507). ประชุมเพลงยาวฉบับหอสมุดแห่งชาติ. พระนคร: คลังวิทยา.

สละ ลิขิตกุล. (2521). คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกฯ: ชีวิตและงาน. กรุงเทพฯ: พี.จี.

สีกากร. (2546). เพลงยาวแร้งวัดสระเกศ. ใน ศิลปวัฒนธรรม, 24(10), 52.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2524). เจ้าขุนทองไปปล้น: รวมบทกวีสยามของสุจิตต์ วงษ์เทศ 2516-2523. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2546). เพลงยาวถึงนายกรัฐมนตรี (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มติชน.

สุภา ทิวถนอม. (2515). วิเคราะห์กลอนเพลงยาวสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ.2199 ถึง พ.ศ.2310) และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2325 ถึง พ.ศ.2411) (ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย). วิทยาลัยวิชาการศึกษา, กรุงเทพฯ.

เสฐียรโกเศศ (พระยาอนุมานราชธน). (2513). ฟื้นความหลัง เล่ม 4. พระนคร: ศึกษิตสยาม.

อมรา บุษกร. (2541). เพลงยาวคำทำนาย...ขอดสังคม. กรุงเทพฯ: มาลัย.

อังคาร จันทาทิพย์. (2544). วิมานลงแดง. กรุงเทพฯ: ดับเบิ้ลนายน์.