จากศรัทธาสู่พิธีกรรมบูชา เรื่องเล่าประวัติชีวิตและวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ของ "พ่อปู่มิตร ชัยบัญชา"

Main Article Content

กฤตยา ณ หนองคาย

Abstract

The sudden death of Mitra Chaibancha, the most renowned Thai film star in 1970s, caused by an occupational accident occurring during the shooting of the last scene of “the Golden Eagle” (In Si Thong) affected his fans’ hearts. Their great grief has finally turned “the beloved movie hero” to “a sacred spirit”. After his death, Mitra’s shrine and cults have been established. In this study, folklore and anthropological methodologies were applied to examine the cult of sacred spirit of Mitra Chaibancha. It was found that Mitra’s life history matched with some “heroic motifs” mentioned in Thai legends as well as with Thai indigenous beliefs of ancestor worship and the after life. Nevertheless¸ according to the changeable and variable socio-cultural context, although today the cult and faith of the sacred spirit of Mitra Chaibancha might be limitedly dispersed, the ritual is still interestingly developed.

Article Details

Section
Research Articles

References

โจเซฟ แคมพ์เบลล์. (2551). พลานุภาพแห่งเทพปกรณัม (บารนี บุญทรง, ผู้แปล).กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

เทียมจิตร์ พ่วงสมจิตร์. (2551). บทบรรณาธิการ. ไทยคดีศึกษา, 5(2). บทนำ (2).

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2560). แนวคิดมานุษยวิทยากับการศึกษาความเชื่อ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสังคมไทย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 25(47), 137-197.

เบเนดิกท์ แอนเดอร์สัน. (2553). ในกระจก: วรรณกรรมและการเมืองสยามยุคอเมริกัน. กรุงเทพฯ: อ่าน.

พิเชฐ สายพันธ์. (2539). นาคาคติอีสานลุ่มน้าโขง วิถีชีวิตทางวัฒนธรรมจากพิธีกรรมร่วมสมัย (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
วรรณี วิบูลย์สวัสดิ์ แอนเดอร์สัน, บรรณาธิการ. (2531). พื้นถิ่นพื้นฐาน: มิติใหม่ของคติชนวิทยาและวิถีชีวิตสามัญของพื้นบ้านพื้นเมือง. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.

วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2556). ผู้นำทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์.

ศิราพร ณ ถลาง. (2557). ทฤษฎีคติชนวิทยา วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน- นิทานพื้นบ้าน (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สายป่าน ปุริวรรณชนะ. (2555). อิทธิปาฏิหาริย์กับการสร้างเรื่องเล่าศักดิ์สิทธิ์: ขนบนิยมและพลวัตในประวัติพระเกจิอาจารย์ในสังคมไทยภาคกลาง. (วิทยานิพนธ์ ดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน). (ม.ป.ป.). เอกสารเผยแพร่ประวัติชีวิตมิตร ชัยบัญชา. นครปฐม: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน).

อานันท์ กาญจนพันธุ์ (2555). เจ้าที่และผีปู่ย่า พลวัตของความรู้ชาวบ้าน อำนาจและตัวตนของคนท้องถิ่น. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อิงคศักดิ์ เกตุหอม. (2548). ความตายแบบไม่ธรรมดา มิตร ชัยบัญชา. กรุงเทพฯ: แสงดาว.

Na Nongkhai, Krittaya. (2010). ‘Insi Daeng (Red Eagle)’: The Reproduction of the Thai Legendary Hero and the Invention of Memory. The Journal, 7(2), 69-87.

สัมภาษณ์
พจนีย์ ชมวิชา. (2562, 8 ตุลาคม). ผู้ร่วมงานรำลึก 49 ปี มิตร ชัยบัญชา ที่หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน). [บทสัมภาษณ์].

ไม่ระบุนาม 1. (2562, 11 สิงหาคม). ผู้ดูแลศาลศาลพ่อปู่มิตรชัยบัญชา พัทยา จังหวัดชลบุรี. [บทสัมภาษณ์].

ไม่ระบุนาม 2. (2562, 11 สิงหาคม). ผู้ดูแลศาลศาลพ่อปู่มิตรชัยบัญชา พัทยา จังหวัดชลบุรี. [บทสัมภาษณ์].

เสมือน ชมวิชา. (2562, 8 ตุลาคม). ผู้ร่วมงานรำลึก 49 ปีมิตร ชัยบัญชา ที่หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน). [บทสัมภาษณ์].
ออนไลน์

ก้อง กังฟู. เปิดปูม..ศาลมิตร ชัยบัญชา สื่อรักจากมนุษย์สู่โลกวิญญาณ. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2562 จาก https://hilight.kapook.com/view/29591.

กิจกรรมงานรำลึก 49 ปี มิตร ชัยบัญชา. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2562 จาก เพจชุมทางหนังไทยในอดีต https://www.facebook.com/groups/156185157894883.

เดลินิวส์ออนไลน์ ข่าวเดลินิวส์บันเทิง. (2562, 8 ตุลาคม). เปิดหุ่นใหม่ "มิตร ชัยบัญชา" ครบรอบเสียชีวิต 49 ปี. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2562 จาก https://www.dailynews.co.th/entertainment/735563.

ไทยรัฐออนไลน์. (2560, 3 กันยายน). ทำพิธีตั้งรูปหล่อ ‘มิตร ชัยบัญชา’ ขนาดเท่าตัวจริง ที่วัดท่ากระเทียม. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2562 จาก https://www.thairath.co.th/news/local/1058757.

พระเอกไม่เคยตาย มิตร ชัยบัญชา: ข่าวดังข้ามเวลา. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2562 จาก https://tna.mcot.net/view/GwVxCXIL8.
อินทรีแดง. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2562 จาก https://www.google.com/search.