การเลือกสรรและการดัดแปลงพงศาวดารจีนฉบับแปลไทยเป็นบทละครราของหลวงพัฒนพงศ์ภักดี
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาการเลือกสรรและการดัดแปลงพงศาวดารจีนฉบับแปลไทยเป็นบทละครรำของหลวงพัฒนพงศ์ภักดี ซึ่งเป็นกลวิธีสำคัญที่ทำให้บทละครรำกลุ่มนี้เหมาะสมกับการนำไปใช้แสดง ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดการเลือกสรร ทั้งการเลือกเรื่องและการเลือกตอนส่งผลให้บทละครรำดังกล่าวมีที่มาของเรื่องที่หลากหลายและสนุกสนาน ส่วนกลวิธีการดัดแปลง ได้แก่ การดัดแปลงด้านรูปแบบ การดัดแปลงด้านเนื้อหา การดัดแปลงด้านตัวละคร และการดัดแปลงด้านกลวิธีการนำเสนอ ส่งผลให้บทละครมีการดำเนินเรื่องที่กระชับและต่อเนื่อง มีการผสมผสานกระบวนแสดงแบบเดิมกับแบบใหม่เข้าด้วยกัน โดยการเลือกสรรและการดัดแปลงดังกล่าวทำให้บทละครรำกลุ่มนี้มีลักษณะของละครประเภทใหม่และเป็นตัวอย่างสำคัญของการละครสมัยรัชกาลที่ 5
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
สมุดไทย
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง กวางเผง เลขที่ 44
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง ซุยถัง เลขที่ 243
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง ไต้ฮั่น เล่ม 1-2 เลขที่ 8-9
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง บ้วนฮวยเหลา เล่ม 1-6 เลขที่ 1-6
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง สามก๊ก เล่ม 1-16 เลขที่ 197-212
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง ห้องสิน เล่ม 1-4 เลขที่ 2-5
หนังสือ
ซุยถัง เล่ม 3. (2509). กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2535). สารานุกรมเพลงไทย. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2508). ตำนานละครอิเหนา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). พระนคร: คลังวิทยา.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2546). ละครฟ้อนรำ ประชุมเรื่องละครฟ้อนรำกับระบำรำเต้น ตำนานฟ้อนรำ ตำนานเรื่องละครอิเหนา ตำนานละครดึกดำบรรพ์. กรุงเทพฯ: มติชน.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2556). ตำนานหนังสือสามก๊ก. นนทบุรี: ดอกหญ้า 2000.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2559). ประวัติหลวงพัฒนพงศ์ภักดี. นิราศหนองคาย. กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
ไต้ฮั่น. (2510). พระนคร: กรมศิลปากร. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานทำบุญครบร้อยวันมรณะของนายเทียนเพ้ง กรรณสูตร 13 สิงหาคม 2510).
ถาวร สิกขโกศล, ผู้แปล. (2557). ต้นกำเนิดงิ้วจีน. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ
นวรัตน์ ภักดีคำ. (2553). จีนใช้ไทยยืม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
นวรัตน์ ภักดีคำ. (2557). บทละครเรื่องห้องสิน: จากพงศาวดารจีนสู่บทละครไทย. มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 37(1), 67-78.
บ้วนฮวยเหลา และโหงวโฮ้วเพ่งไซ โหงวโฮ้วเพ่งหนา. ม.ป.ป. พระนคร: คลังวิทยา.
พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ. (2559). บทละครนอก พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย. กรุงเทพฯ: ร้านนครสาส์น
มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. (2550). นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 1 ชื่อวรรณคดี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. (2555). คำจีนสยาม : ภาพสะท้อนปฏิสัมพันธ์ไทย-จีน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์. ศริญญา ผั้วผดุง. (2554). จากว่านฮวาโหลวและอู๋หู่ผิงซีสู่บ้วนฮวยเหลา: การศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบนิยายอิงพงศาวดารจีนกับบทละครพันทางไทย. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาจีน). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ
ศานติ ภักดีคำ และนวรัตน์ ภักดีคำ. (2549). พงศาวดารจีนฉบับภาษาไทยแปลมาจากไหน. เมืองโบราณ, 32(1), 60-69.
ศานติ-นวรัตน์ ภักดีคำ. (2553). ภาพสลักศิลาเล่าเรื่องวรรณกรรมจีนใน “สวนขวา” เมืองโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
ศิราพร ณ ถลาง. (2552). ทฤษฎีคติชนวิทยา : วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมบัติ จำปาเงิน และสำเนียง มณีกาญจน์. (2539). ปกิณกะการดนตรีและเพลงไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่.
สมภพ จันทรประภา. (2529). ละครมิใช่ของเล่น. ปกิณกะเกี่ยวกับนาฏศิลป์และการละเล่นของไทย. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์. (ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพนายชวลิสร์ กันตารัติ จ.ช.,จ.ม. ณ เมรุวัดทองนพคุณ กรุงเทพมหานคร 6 มกราคม 2529).
สามก๊ก เล่ม 1. (2556). นนทบุรี: ดอกหญ้า 2000.
สี่ว์จ้งหลิน. (2549). ห้องสิน สถาปนาเทวดาจีน. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.
เสาวณิต วิงวอน. (2555). วรรณคดีการแสดง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดีร่วมกับคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
หงอโต้. (2511). พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.
อารดา สุมิตร. (2516). ละครในของหลวงในสมัยรัชกาลที่ 2 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ฮ.ศุภวุฒิ จันทสาโร. (2556). 18 ทำเนียบศัตราวุธ. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2560 จาก http://www.thairath.co.th/content/352837.
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง กวางเผง เลขที่ 44
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง ซุยถัง เลขที่ 243
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง ไต้ฮั่น เล่ม 1-2 เลขที่ 8-9
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง บ้วนฮวยเหลา เล่ม 1-6 เลขที่ 1-6
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง สามก๊ก เล่ม 1-16 เลขที่ 197-212
หมู่ กลอนบทละคร ชื่อเรื่อง ห้องสิน เล่ม 1-4 เลขที่ 2-5
หนังสือ
ซุยถัง เล่ม 3. (2509). กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2535). สารานุกรมเพลงไทย. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2508). ตำนานละครอิเหนา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). พระนคร: คลังวิทยา.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2546). ละครฟ้อนรำ ประชุมเรื่องละครฟ้อนรำกับระบำรำเต้น ตำนานฟ้อนรำ ตำนานเรื่องละครอิเหนา ตำนานละครดึกดำบรรพ์. กรุงเทพฯ: มติชน.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2556). ตำนานหนังสือสามก๊ก. นนทบุรี: ดอกหญ้า 2000.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2559). ประวัติหลวงพัฒนพงศ์ภักดี. นิราศหนองคาย. กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
ไต้ฮั่น. (2510). พระนคร: กรมศิลปากร. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานทำบุญครบร้อยวันมรณะของนายเทียนเพ้ง กรรณสูตร 13 สิงหาคม 2510).
ถาวร สิกขโกศล, ผู้แปล. (2557). ต้นกำเนิดงิ้วจีน. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ
นวรัตน์ ภักดีคำ. (2553). จีนใช้ไทยยืม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
นวรัตน์ ภักดีคำ. (2557). บทละครเรื่องห้องสิน: จากพงศาวดารจีนสู่บทละครไทย. มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 37(1), 67-78.
บ้วนฮวยเหลา และโหงวโฮ้วเพ่งไซ โหงวโฮ้วเพ่งหนา. ม.ป.ป. พระนคร: คลังวิทยา.
พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ. (2559). บทละครนอก พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย. กรุงเทพฯ: ร้านนครสาส์น
มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. (2550). นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 1 ชื่อวรรณคดี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. (2555). คำจีนสยาม : ภาพสะท้อนปฏิสัมพันธ์ไทย-จีน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์. ศริญญา ผั้วผดุง. (2554). จากว่านฮวาโหลวและอู๋หู่ผิงซีสู่บ้วนฮวยเหลา: การศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบนิยายอิงพงศาวดารจีนกับบทละครพันทางไทย. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาจีน). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ
ศานติ ภักดีคำ และนวรัตน์ ภักดีคำ. (2549). พงศาวดารจีนฉบับภาษาไทยแปลมาจากไหน. เมืองโบราณ, 32(1), 60-69.
ศานติ-นวรัตน์ ภักดีคำ. (2553). ภาพสลักศิลาเล่าเรื่องวรรณกรรมจีนใน “สวนขวา” เมืองโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
ศิราพร ณ ถลาง. (2552). ทฤษฎีคติชนวิทยา : วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมบัติ จำปาเงิน และสำเนียง มณีกาญจน์. (2539). ปกิณกะการดนตรีและเพลงไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่.
สมภพ จันทรประภา. (2529). ละครมิใช่ของเล่น. ปกิณกะเกี่ยวกับนาฏศิลป์และการละเล่นของไทย. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์. (ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพนายชวลิสร์ กันตารัติ จ.ช.,จ.ม. ณ เมรุวัดทองนพคุณ กรุงเทพมหานคร 6 มกราคม 2529).
สามก๊ก เล่ม 1. (2556). นนทบุรี: ดอกหญ้า 2000.
สี่ว์จ้งหลิน. (2549). ห้องสิน สถาปนาเทวดาจีน. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.
เสาวณิต วิงวอน. (2555). วรรณคดีการแสดง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดีร่วมกับคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
หงอโต้. (2511). พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.
อารดา สุมิตร. (2516). ละครในของหลวงในสมัยรัชกาลที่ 2 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ฮ.ศุภวุฒิ จันทสาโร. (2556). 18 ทำเนียบศัตราวุธ. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2560 จาก http://www.thairath.co.th/content/352837.