การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและปรับปรุงภูมิทัศน์ภูป่าเปาะ จังหวัดเลย, Tourism Development and Landscape Improvement in Phu Pa Poa, Loei Province

Main Article Content

ชนิธิกาญจน์ จีนใจตรง
วรากุล ตันทนะเทวินทร์
วราพรรณ ผลโพธิ์

Abstract

Abstracts


        This article is a Participatory Action Research (PAR). It is a part of strategic plans with respect to the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (DASTA). Strategies and action plans are set by
a local community participatory in tourism development in each area. This article aims to study the potential of tourist attraction, and formulate a master plan for landscape improvement through community participation in Phu Pa Poa, Loei province. It also aims to increase the knowledge and understanding of community participation in the design process, thus setting up a model for the local community to develop and solve problems systematically in tourism development. There are the field surveys, observation, interviews and workshops conducted with the community to brainstorm for landscape improvement. The community participated continuously during the design and development processes. Forty study participants are members of the Phu Pa Pao Eco-tourism Club (Community Welfare Organizations) and local tourist services. The results highlighted four spots in this tourist attraction where the beauty of “Fuji of Loei” can be seen. Each spot presents a different scenic view arising from variations in sea level, and natural attributes in the environment. The end objective of the development plan is to divide into areas according to the tourists’ interests, local activities and landscapes. The four spots are (i) Sunset view, (ii) Picnic in colored garden, (iii) Sunrise view, and (iv) 360 degrees viewpoint. These guidelines for tourism development will lend focus to solve the problems around improving areas for tourists and landscapes. In addition, this will set a good example for other communities to develop solutions and solve problems independently in the future.


Keywords: Tourism Development, Landscape, Community Participation, Phu Pa Poa

Article Details

How to Cite
จีนใจตรง ช., ตันทนะเทวินทร์ ว., & ผลโพธิ์ ว. (2018). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและปรับปรุงภูมิทัศน์ภูป่าเปาะ จังหวัดเลย, Tourism Development and Landscape Improvement in Phu Pa Poa, Loei Province. Asian Creative Architecture, Art and Design, 26(1), 74–91. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/archkmitl/article/view/132545
Section
Research Articles

References

กนกอร รัตนอุดมสวัสดิ์. (2545) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวสามเหลี่ยมทองคำ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. (สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

โกศัลย์ นามมะลิ. (19 สิงหาคม 2559). สัมภาษณ์โดยวราพรรณ ผลโพธิ์. สถานการณ์การท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวภูป่าเปาะ. ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวภูป่าเปาะ จังหวัดเลย.

เครือข่ายชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ภูป่าเปาะ. (2559). แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ. ในรายงานการประชุมของชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ภูป่าเปาะปี พ.ศ. 2558. เลย: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน).

ฉัตรเฉลิม องอาจธานศาล. (2551). จุลสารวิชาอิเล็กทรอนิกส์ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. เข้าถึงได้จาก: http://www.etatjournal.com/web/.91 วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พนิตตา สิงห์ครา. (2544). ศักยภาพของชุมชนบ้านห้วยฮี้ในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแบบโฮมสเตย์ กรณีบ้านห้วยฮี้ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. (สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

วิไลภรณ์ ขันติสิทธิ์. (2541). ทรรศนะของเกษจรกรต่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ้านแม่ใหม่ ตำบลโป่งแยก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. (สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

วีระพล ทองมา. (2550). การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community–Based Tourism: CBT) สำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนในเขตที่ดินป่าไม้. เข้าถึงได้จาก: www.dnp.go.th/fca16/file/i49xy4ghqzsh3j1.doc.

ศิริรัตน์ โตสัมพันธ์มงคล. (2549). การวางแผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนในจังหวัดตาก. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน. (2560). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ภูป่าเปาะ. เข้าถึงได้จาก: http://www.codi.or.th/index.php/public-relations/news/15281-2017-01-22-04-25-53