การออกแบบศาลพระพรหม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (Designing the Brahma Shrine, Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang)

Main Article Content

พิสิฐ พินิจจันทร์

Abstract

บทคัดย่อ


ศาลพระพรหม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้ทำการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ ซึ่งผู้เขียนได้รับเกียรติให้มีส่วนร่วมในการออกแบบและเห็นควรว่าจำเป็นต้องมีการบันทึกความเป็นมาของโครงการขั้นตอนในการออกแบบ เหตุปัจจัยหรือตัวแปรที่ส่งผลต่อการออกแบบรายละเอียดต่างๆ รวมถึงข้อเสนอแนะข้อดีข้อเสียเมื่อศาลทำการก่อสร้างแล้วเสร็จ ซึ่งพอสรุปได้ว่างานออกแบบศาลพระพรหมนั้นมีความเป็นศิลปะเชิงประติมากรรมกว่าความเป็นสถาปัตยกรรมหรือวิทยาศาสตร์ ขั้นตอนในการสร้างคุณค่าให้กับผลงานจำเป็นจะต้องใช้กระบวนการตีความเรื่องราวทั้งหมดที่มีความสัมพันธ์กับชิ้นงาน ได้แก่ ความสัมพันธ์ในเชิงประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์กับที่ตั้งโครงการฯ และนำเสนอออกมาผ่านความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้ผลงานมีความสวยงามเกิดความประทับใจกับผู้ที่พบเห็น ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความบันทึกการออกแบบในครั้งนี้จะเป็นแนวทางตัวอย่างให้กับนักศึกษาและนักออกแบบรุ่นเยาว์ เป็นการเผยแพร่และกระตุ้นเหลี่ยมคมทางความคิดของนักออกแบบอาชีพ รวมถึงเปิดกว้างน้อมคารวะบทวิพากษ์จากศิลปินอาวุโส อย่างไรก็ดีเมื่อผลงานออกแบบหรือบทความบันทึกการออกแบบในครั้งนี้มีผลขับเคลื่อนทางความคิดของผู้ใดก็ตาม ผู้เขียนถือ เป็นความสำเร็จและน้อมรับฟังความคิดเห็นเพื่อพัฒนาผลงานออกแบบในครั้งต่อๆ ไป


 


คำสำคัญ: ศาลพระพรหม   พุทธศิลป์   ภารตะศิลป์


ศาลทรงหลังคาจัตุรมุข   เส้นจอมแห


 


Abstract


The Brahma shrine at Faculty o Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang construction is finished. Which the authors receive the honor to share in designing and agree that tot have recording background of the project the step in designing factor cause of the variable that affect to build designing detail all include merit disadvantages suggestion when the shrine when the construction is finished. Which can summarize that the work designs Brahma shrine has been arts sculpture manner more than the architecture or science. The step in building worth gives with the works have to use the procedure construes a story all the relation and the work for example the relation in history manner, the relation and project location. And present come out change the creativity for the works has the beauty is born the impression with who sees. The authors hopes very much that the article records designing in this time will in rows example way gives with a student and young generation designer. Be the revelation spreads and encourage sharp way though angle of occupation designer include adopt bow respect  chapter criticize from senior artist. However when the works designs or the article records designing in this time affect propel who is though way of no matter. The authors regards the success and bow to listen to listen to the opinion for develop the works will design in the future.


 


Keywords: Brahma Shrine Art Buddha Art Burden Shape Roof


Tetrahedron Shrine Top Fishnet Heel

Article Details

How to Cite
พินิจจันทร์ พ. (2014). การออกแบบศาลพระพรหม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (Designing the Brahma Shrine, Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang). Asian Creative Architecture, Art and Design, 16(1), 1–10. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/archkmitl/article/view/18510
Section
Academic Articles