แนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมภายใน ของนักสีกษากลุ่มวิชาสถาปัตยกรรมภายใน สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Main Article Content

ชาติ ภาสวร

Abstract

บทดัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของนักศึกษา กลุ่มวิชาสถาปัตยกรรมภายใน สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและ การวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สำหรับเป็นแนวทางปรับปรุง เนื้อหาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมภายใน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 155 คน โดยใช้แบบสอบถามมาตรา ประเมินค่า 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านผู้สอน ด้านอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผลพบว่า โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านเนื้อหาการเรียนการสอนพบว่า โดยเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมากเป็นอันดับหนึ่ง และด้านผลการเรียนรู้อยู่ในระดับมากเป็นอันดับสอง เมื่อเปรียบเทียบระหว่างค่าเฉลี่ยระดับความ พึงพอใจของทัศนคติต่อการเรียนการสอนโดยภาพรวม จำแนกตามเพศและสถานการณ์การลงทะเบียน และ สถานภาพ นักศึกษา พบว่า มิความแตกต่างกันอย่างมินัยสำคัญ .05 แต่ความสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพนักศึกษาและทัศนคติต่อ การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม มิความสัมพันธ์!ปในทิศทางตรงกันข้ามกันอย่างมินัยสำคัญ .001 ยกเว้น ด้านผลการเรียนรู้จึงเสนอแนะแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมภายในให้ปรับปรุงการเรียน การสอนด้านผู้สอน ด้านอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอน และด้านการวัดประเมินผล รวมทั้งด้านเนื้อหาการเรียนการสอน รวมทั้งด้านผลการเรียนรู้

ค่าสำคัญ: ทัศนคติ, วิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมภายใน, นักศึกษากลุ่มวิชาสถาปัตยกรรมภายใน

 

Abstract

The objective of this research is to study the attitudes of students towards History of Interior Architecture courses of Interior Architecture Department, at King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, and to obtain guideline for developing an integrated curriculum learning . The samples consisted of 155 students, who registered in history of interior Architecture course/s during 2006-2010 academic year, selected by means of purposive sampling. The questionnaire was 5-level Likert’s Scale. The result revealed that the attitude towards all aspects were average level. The respondents agreed on two aspects, content of subject and learning outcome, at high level while the instructor, media, as well as test and evaluation aspect are average level. When considering the respondents’ overall attitude toward History of Interior Architecture course/s separately with different genders, academic status, registration’s history, the result were statistically significant at 0.5 level. Significantly positive correlation were found between respondent’s attitude and gender at 0.5 level while respondent’s attitude and registration history at .001 level. On the contrary, the correlation between respondent’s attitude and academic status was negatively significant at .001 level except learning outcome aspect was not significant. Findings served as an guideline of five aspects for the department to develop the curriculum

Keyword: Attitude, History of Interior Architecture courses, Interior Architecture students

Article Details

How to Cite
ภาสวร ช. (2012). แนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมภายใน ของนักสีกษากลุ่มวิชาสถาปัตยกรรมภายใน สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. Asian Creative Architecture, Art and Design, 13(2), 36–47. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/archkmitl/article/view/4094
Section
Research Articles