การจัดการพื้นที่สีเขียวในสถาบันศึกษา: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเภทพื้นที่สีเขียวที่มีอยู่ในปัจจุบันของสถาบันศึกษา และการใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวของประชาชน เพื่อเสนอแนะแนวทางการดำรงไว้ของพื้นที่สีเขียวที่มีอยู่เดิมและการเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหม่ให้สอดคล้องกับความต้องการและพฤติกรรมของประชาชนในสถาบันศึกษา โดยพิจารณามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เป็นกรณีศึกษา ผลจากการวิจัยพบว่า พื้นที่สีเขียวในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สามารถจำแนกออกเป็น 6 ประเภท ตามลักษณะการใช้งานของพื้นที่ คิดเป็นพื้นที่สีเขียวทั้งสิ้นร้อยละ 64.36 ของพื้นที่ทั้งหมด และเป็นพื้นที่สีเขียวยั่งยืน ร้อยละ 30.03 ของพื้นที่ทั้งหมด สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการเชิงนโยบายด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในส่วนของผลจากการทำแบบสอบถาม ประชาชนส่วนใหญ่ใช้พื้นที่สีเขียวเป็นที่แลกเปลี่ยนความรู้ พบปะพูดคุย พักผ่อนหย่อนใจและเป็นที่อ่านหนังสือและทำงาน ดังนั้น แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียวในสถาบันศึกษาจึงควรกำหนดขอบเขตประเภทของพื้นที่สีเขียวให้ชัดเจน พัฒนาการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวที่ใช้งานไม่เต็มศักยภาพและพัฒนารูปแบบการจัดการดำเนินงานของหน่วยงานรับผิดชอบ
คำสำคัญ: การจัดการพื้นที่สีเขียว, สถาบันศึกษา, ความต้องการและพฤติกรรมของประชาชน
Abstract
The objectives of this research are: a) to study categorization of green area in the institute; b) to scrutinize benefits toward green areas in educational institutions; and c) to suggest the guidelines for maintaining the existing green areas and develop more green areas in line with the needs and activities of university. In this research, Thammasart University, Rangsit Center is the case-study. The study categorizes six groups of green areas in the university according to its function. These green areas cover 64.36% of the total center area and the sustainable green areas are 30.03% of the total center area. The activities in the green areas are varied such as tutorials, community meetings, relaxing, reading and working. Finally, guidelines are made for developing future green areas in the center. Green area management should focus on zoning the green area and revising the area management for optimal utilization. While the policies and plans are recommend to be made responsible united by agencies and those involved.
Key words: green area management, educational institution, the public needs and behaviors
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.
Copyright Transfer Statement
The copyright of this article is transferred to Journal of The Faculty of Architecture King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang with effect if and when the article is accepted for publication. The copyright transfer covers the exclusive right to reproduce and distribute the article, including reprints, translations, photographic reproductions, electronic form (offline, online) or any other reproductions of similar nature.
The author warrants that this contribution is original and that he/she has full power to make this grant. The author signs for and accepts responsibility for releasing this material on behalf of any and all co-authors.