สาเหตุและการแก้ไขความเสียหายของทางวิ่งและทางขับ สนามบินสุวรรณภูมิ

Main Article Content

สมชาย ศรีสมพงษ์

Abstract

บทคัดย่อ

ระดับน้ำใต้ดินและการขึ้น – ลงตามฤดูกาลของน้ำใต้ดินนั้นมักจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างอาคารต่างๆ

โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ในเขตที่มีชั้นดินที่อ่อนและมีน้ำท่วมขัง ได้ทำการถมคลองและยกเลิกบ่อปลาเป็นจำนวนมากอีกทั้งยังได้อพยพผู้อาศัยอยู่ในท้องที่เดิมออกไปถึง 2,000 หลังคาเรือน และวัดอีก 1 แห่ง มีการขุดคูลึก (side ditch) และทำคันเขื่อนสูง 3.50 เมตรรอบพื้นที่ นอกจากนี้ยังติดตั้งสถานีสูบน้ำและทำบ่อกักเก็บน้ำจำนวน 6 แห่ง ในขณะที่กรมชลประทานก็ได้ทำการสร้างสถานีสูบน้ำทิ้งลงทะเลอีกถึง 3 แห่ง เพื่อเตรียมรับสาถนการณ์เพื่อควบคุมน้ำท่วมพื้นที่ทั้งหมดก่อนการก่อสร้างสนามบินสุวรรณภูมิ

เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ในท้องที่นั้นเป็นที่ลุ่ม ดินอ่อนมาและที่มีน้ำท่วมขัง สภาวะการทรุดตัวของดินที่เกิดจากการสูบน้ำบาดาลจึงได้มีการควบคุม การปรับสภาพและเพิ่มศักยภาพในการรับน้ำหนักของดินก็ได้ถูกทำขึ้น เพื่อการรับมือกับการป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดขึ้นก่อนการใช้สนามบิน

คำสำคัญ : ทางวิ่ง  ทางขับ  การแทรกซึมของน้ำ  แผ่นดินทรุด  ที่น้ำท่วมขัง

 

Abstract

The tidal change of underground water causes deterioration to building structures especially in Bangkok area which situated in a soft ground prone to residual flood and soil sub-sidence.

To make room for Suvarnabhumi airport, around 2,000 fish-ponds and 6 canals were filled-in. Almost 2,000 families, including a temple were relocated. Flood control mitigations were put in place for the airport via a 3.5 m-dike around the perimeter and 6 holding ponds equipped with 2 pump stations. However, to relieve flooding in the area around the airport, the Department of Irrigation is in charge of construct-ing 3 pump stations near the gulf of Thailand to discharge floodwater into the sea.

Because the original airport Iand is a swamp area and fishponds on soft ground prone to flooding and ground sub-sidence, underground water pumping has been prohibited to prevent further soil subsidence. The airport ground has been heavily strengthened prior to and during construction to take the airplanes and heavy traffic loads.

Keywords : runway,  taxiway,  water penetration,  ground subsidence, swamp, asphaltic concrete

Article Details

How to Cite
ศรีสมพงษ์ ส. (2012). สาเหตุและการแก้ไขความเสียหายของทางวิ่งและทางขับ สนามบินสุวรรณภูมิ. Asian Creative Architecture, Art and Design, 8(1), 1–9. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/archkmitl/article/view/4197
Section
Research Articles