การบูรณปฏิสังขรณ์อาคารเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (ภาค๒)

Main Article Content

สมชาย ศรีสมพงษ์

Abstract

บทคัดย่อ

ความเสียหายในอาคารอันมีสาเหตุมาจากการทรุดตัวของดินเป็นปัญหาใหญ่ที่อาจจะส่งผลกระทบกับเสถียรภาพของโครงสร้างฐานรากอาคารเมื่อใช้งานไปแล้วในช่วงเวลาหนึ่งการแก้ไขต้องดำเนินการในทันที    สถาปนิก

วิศวกรและผู้ชำนาญทางปฐพีกลศาสตร์ต้องร่วมกันวางแผนงานแก้ไขความเสียหายนี้ร่วมกัน   และการบูรณปฏิสังขรณ์อาคารก็มิได้ขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีในทางวัสดุและวิศวกรรมเพียงเท่านั้น    หากแต่ยังจะต้องนำเอาศาสตร์ของการจัดการในระดับสูง  การวางแผนงาน  และการควบคุมค่าใช้จ่ายในระยะยาว  เข้ามาประยุกต์อย่างมีประสิทธิภาพ

คำสำคัญ : การบูรณะเพื่อการป้องกัน การบูรณะเพื่อการแก้ไขและเยียวยา การบูรณะให้เหมาะสมกับสภาพและเงื่อนไข การทำค้ำยัน งานซ่อมเสริมฐานราก

 

Abstract

The damage of building structures depend most directly on the changes of the supporting ground and might affect the stability of the building foundations. The maintenance becomes a necessary action involving the building organization in the later state. The maintenance activities are then essential and take greater part in maintaining the use of the building towards its lifetime. Effective maintenance requires long range information, routine works and severe training and the work will be carried on only by skillful technicians. Finally, the accomplishment of the innovation work of building structures can not be done efficiently without taking the breakdown of design, specification and cost factors into the basic consideration.

Keywords : Preventive maintenance, Corrective or Remedial maintenance, Conditional maintenance,

Shoring, Under-pinning work

Article Details

How to Cite
ศรีสมพงษ์ ส. (2012). การบูรณปฏิสังขรณ์อาคารเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (ภาค๒). Asian Creative Architecture, Art and Design, 9(1), 10–21. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/archkmitl/article/view/4213
Section
Research Articles