การออกแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการโดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน: ภัยพิบัติ “อุทกภัย”

ผู้แต่ง

  • น้ำเพชร นาสารีย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ศักดิ์สิทธิ์ เหมแก้ว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • สมศักดิ์ อรัญญา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ศรราม สุขสำราญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

การออกแบบการเรียนรู้, อุทกภัย, การเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน

บทคัดย่อ

Phenomenon-Based Learning เป็นแนวคิดการบูรณาการการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการ และส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อย่างมีความสุข คณะผู้เขียนบทความวิชาการจึงหยิบยกเรื่อง  “อุทกภัย” ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนคนไทยจำนวนมาก โดยนำปรากฎการณ์นี้มาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมุ่งหวังว่าเป็นแนวทางหนึ่งให้กับครูนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน  เพื่อเตรียมให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถในการป้องกันและการลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในยามเกิดวิกฤติภัยพิบัติ  รวมถึงปลูกจิตสำนึกในการช่วยเหลือตนเองและสังคมส่วนรวม

References

ไกรชาติ ตันตระการอาภา และ อัมรินทร์ คงทวีเลิศ. (2555). สถานการณ์น้ำท่วม ผลกระทบต่อสุขภาพ.วารสารสิ่งแวดล้อม, 16(1), 36-44.

คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ. (มปป.). บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้และจังหวัดเพชรบุรี 20 พ.ย.-9 ธ.ค.60. สืบค้นจาก http://tiwrmdev.haii.or.th/current/2017/FloodsouthNov2017/floodsouth_nov2017.html

คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ. (มปป.). บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคเหนือ (ตุลาคม 2553). https://www.thaiwater.net/current/floodNorth_oct53.html

ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2557). ความตระหนักรู้ต่อการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ: การทบทวนวรรณกรรม. วารสารนักบริหาร (Executive Journal), 34(2), 92-115.

ธเนศน์ นุ่นมัน. (2560, 4 สิงหาคม). น้ำท่วมอีสานภัยธรรมชาติ-ผังเมืองผิดรูป แก้ระยะยาวต้องรื้อใหม่ทั้งระบบ. มติชน. https://www.posttoday.com/politic/report/507045

ปฏิวิชช์ สาระพิน. (2555). ถอดบทเรียนนํ้าท่วม 2554. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์, 4(4), 69-88.

ศุภฑิต สนธินุช. (2560). “วิจัยภัยพิบัติ” เพื่อการเรียนรู้ – อยู่รอดของชุมชน. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/643349

อมร พิมานมาศ. (2555). 5 แนวทางการออกแบบและก่อสร้างบ้านรับมือน้ำท่วม. สืบค้นจาก https://engfanatic.tumcivil.com/tumcivil_1/media/Dr.Amorn/Flood7/5_ways_to_build_house_for_flooding_re.pdf

Daehler, K., & Folsom, J. (2016). Making Sense of Science: Phenomena-based Learning. Retrieved from http://www.WestEd.org/mss

Gagne', R. M., Wager, W. W., Golas, K. C., & Keller, J. M. (2005). Principles of instructional design (5th ed.). Connecticut: Thomson Wadsworth.

Seel,B,and Glasgow,Z. (1990). Exercise in Instructional Design. Merrill Publishing Company Bell & Howell Information Company, Columblus,Ohio 4321.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-07-13