ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาระบบภาพของนักเรียน โรงเรียนช่างฝีมือทหาร จากการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site

ผู้แต่ง

  • ธรรมรัตน์ อยู่รอง สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยปทุมธานี
  • นีรนาท จุลเนียม สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยปทุมธานี

คำสำคัญ:

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, บทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีมุ่งหมาย 1. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site เรื่อง ระบบภาพ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนช่างฝีมือทหาร ตามเกณฑ์ 80/80    2. เพื่อเปรียบเทียบรายวิชาของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site กับเกณฑ์ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 กำหนดเกณฑ์ผ่านที่ 80/80 ร้อยละ 80 และ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling ได้ 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เรื่อง ระบบภาพ แบบประเมินคุณภาพสำหรับผู้เชี่ยวชาญแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที

ผลการวิจัยพบว่า

ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site เรื่อง ระบบภาพ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 พบว่า ค่าประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site เรื่อง ระบบภาพ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 (E1/E2) ของบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บ Google Site เรื่อง ระบบภาพ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 เท่ากับ 86.68/82.74

ผลการเปรียบเทียบคะแนนของการทดสอบก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site เรื่อง ระบบภาพ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 พบว่า คะแนน ทดสอบหลังจากเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site เรื่อง ระบบภาพ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ.01 (t=31.45; p < .01)

 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านโปรแกรม Google Site เรื่อง ระบบภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บโปรแกรม Google Site เรื่อง ระบบภาพ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 เพิ่มมากขึ้น (  gif.latex?\bar{X}  = 4.75, SD. = 0.43)

References

เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว. (2556, 1 พฤศจิกายน). โครงสร้างระบบการศึกษาไทยกับความต้องการแรงงานสายอาชีวะ. หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน.

จงสถาพร ดาวเรือง; และคณะ. (2560, มกราคม-เมษายน). อนาคตภาพการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในทศวรรษหน้า. 12(1).

ฐณัฐ วงศ์สายเชื้อ. (2560). หาขนาดตัวอย่างสูตร Krejci & Morgan. สืบค้นเมื¬อ 27 กรกฎาคม 2564, จาก https://sufar.ru/video_eURFcm9oaVBoQ0Fz/Krejci Morgan.

ณัฐชัย ต๊ะต้องใจ; อินทร์ จันทร์เจริญ; และวีรพันธุ์ ศิริฤทธิ์. (2558, เมษายน). สมรรถนะของครูที-สําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ที¬ปฏิบัติงานในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ในเขตภาคเหนือตอนบน. วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9 (ฉบับพิเศษ): 145-147.

ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ. (2559ก). จุดเน้น 6 ยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ. สืบค้นเมื¬อ 28 มีนาคม2561, จาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?News ID=45271&Key =infographics.

ธานินทร์ ศรีชมพู. (2557). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ประภาพรรณ ปรีวรรณ. (2558). ศึกษารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุขององค์ประกอบที่ส่งผลการพัฒนาการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี. ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

พัฒศ์วพิศ โนรี. (2556). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานเทคโนโลยีสารสนเทศในสถาบันการอาชีวศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พิศมัย จารุจิตติพันธ์. (2555). ศักยภาพและแนวทางพัฒนาการท่องเที!ยวเชิงนิเวศในเกาะสมุย.กรุงเทพฯ: สํานักวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ภัทรพรรณ เล้านิรามัย. (2558). การปรับตัวของสถาบันอาชีวศึกษา. สืบค้นเมื¬อ 3 กุมภาพันธ์ 2565,จาก www.spu.ac.th/~patrapan/Tip3_46html.[06/06/2014].

ภาวิช ทองโรจน์. (2554). สภาสถาบันอุดมศึกษากับการพัฒนาอุดมศึกษา. สืบค้นเมื¬อ 23 กุมภาพันธ์2564, จาก www.google.co.th/search.

มณีรัตน์ สุวรรณวารี. (2554). ทฤษฎีและแนวความคิดทางการบริหาร. สืบค้นเมื¬อ 10 ธันวาคม 2560, จาก https://www.gotoknow.org/posts/458779.

Best, John W. (1981). Research in Education. 4th ed., New Jersey: Prentice-Hall Inc.

Boyatzis, R. E. (1982). The Competent Manager: A Model of Effective Performance. New York: John Wiley and Sons Inc.

Darwin Hendel. AERA Mini Presentation. (1977). Value based Management.net. 7-S Framework of McKinsey. from http://www.valuebasedmanagement.net/ methods_7S.html (9 April 2008), 2008.

De Bono, E. (1967). Teach Yourself to Think. England: Penguin Books.

Hamel, G. (1994). Strategy as Revolution, Harvard Business Review. July-August.

Kast, F. E.; & Rosenzweig, J. E. (1985). Organization and Management: A Systems and Contingency Analysis. 4th ed., New York: McGraw-Hill.

Katz, Daniel; & Kahn, Robert L. (1978). The Social Psychology of Organization. 2nd ed.,New York: Wiley & Son.

Kennedy, P. W.; & S. G. Dresser. (2005). Creating a Competency-Based Workplace, Benefits Compensation Digest. Brookfield: Feb.

Krejci, R. V.; & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement

Lindgren, R.; O. Henfridsson; & U. Schultze. (2004). Design Principles for Competence Management Systems: A Synthesis of an Action Research Study 1. MIS Quarterly. Minneapolis: Sep.

McClelland, D. C. (1973). Testing for Competence rather than for “Intelligence”. American Psychologist. 28(1): 1-14.

Mehrens, William A.; & Lehmann, Irvin J. (1984). Measurement and Evaluation and Phycology. Orlando: Holt, Rinehart & Winston, Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-02