ศึกษาความสามารถในการอ่านภาษาจีนกลางของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู้เสริมแบบผสมผสานร่วมกับแบบฝึกทักษะการอ่านสัทอักษรจีนกลาง (พิงอิน)

ผู้แต่ง

  • ZHONG YING YING สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยปทุมธานี
  • neranart Chulniam -

คำสำคัญ:

ความสามารถในการอ่านภาษาจีนกลาง, การอ่านสัทอักษรจีนกลาง (พิงอิน)

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีมุ่งหมาย 1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะอ่านภาษาจีนกลางของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู้เสริมแบบผสมผสานร่วมกับแบบฝึกทักษะการอ่านสัทอักษรจีนกลาง (พินอิน) เกณฑ์ร้อยละ 80
2. เพื่อเปรีบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาจีนกลางของนักเรียนก่อนและหลังเรียน จากการจัดการเรียนรู้เสริมแบบผสมผสานร่วมกับแบบฝึกทักษะการอ่านสัทอักษรจีนกลาง (พินอิน) 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อจากการจัดการเรียนรู้เสริมแบบผสมผสานร่วมกับแบบฝึกทักษะการอ่านสัทอักษรจีนกลาง (พิงอิน) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่สนใจเรียนภาษาจีนกลาง โดยการสมัครใจมาเรียนผ่านการรับสมัครออนไลน์ ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 52 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสานร่วมกับแบบฝึกทักษะ สัทอักษรจีนกลาง .แบบฝึกทักษะการอ่านสัทอักษรจีนกลาง แบบทดสอบการอ่านออกเสียงภาษาจีนกลาง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที

ผลการวิจัยพบว่า

  1. การศึกษาประสิทธิภาพโดยภาพรวมของทดสอบการอ่านออกเสียงนักศึกของผู้ที่สนใจเรียนภาษาจีนกลาง โดยการสมัครใจมาเรียนผ่านการรับสมัครออนไลน์ เรียนหมู่เรียน1 และหมู่เรียน 2 (E1/E2) เท่ากับ 62.95/90.00 ซึ่งประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
  2. ผลการเปรียบเทียบการอ่านออกเสียงภาษาจีนกลาง โดยใช้กิจกรรมบทเรียนแบบก่อนเรียนและหลังเรียน ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้เสริมแบบผสมผสานร่วมกับแบบฝึกทักษะการอ่านสัทอักษรจีนกลาง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ที่นัยสำคัญที่ระดับ .05
  3. นักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมเสริมบทเรียนการอ่านออกเสียงภาษาจีนกลางของ สนใจเรียนภาษาจีนกลาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมากมีค่าเฉลี่ย (x̄) เท่ากับ 4.49และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับ 0.65

References

จิรวัฒน์ เพชรรัตน์, อัมพร ทองใบ. (2556). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

สุรางศรี วิเศษ. (2554). พัฒนาการอ่านและการเขียน. พิมพ์ครั้งที่ 2 ปทุมธานี: ราชบัณฑิตยสถาน

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถานาลัยรังสิต

บุญนา เกษี. (2556). รายงานผลการใช้แบบฝึกทกัษะ เรื่องระบบสมการเชิงเส้น. ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพานทองสภาชนูปถัมภ์อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี

คณิศร ศรีประไพ. (2555). การพัฒนาแบบฝึกทกัษะการอ่านจบัใจความภาษาไทยสำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่3 อำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน) มหาวิทยาลัยบูรพา.

นิลาภรณ ธรรมวิเศษณ. (2546). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคํา ในมาตราแม่กด สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ จัดการเรียนรู้, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

สมพร ตอยยีบี. (2554). การพัฒนาแบบฝึกทกัษะการเขียนเชิงสร้างสรรคส์สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1โรงเรียนเซนต์เทเรซา หนองจอก กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (สาขาวิชาการ มัธยมศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธีรศักดิ์ อัครบวร 2544. ความเป็นครูไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ก. พลพิมพ์ (1996) จํากัด

บุญเกื้อ ควรหาเวช (2545) นวัตกรรมการศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 4:ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาศตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ไพฑูรย์ ถิร โพธ (2543)เอกสารประกอบการสอนรายวิชากิจกรรมร่วมหลักตร. เพชรบุรี: คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎเพชรบรี.

วิชัย วงษ์ใหญ่ (2543) การพัฒนาหลักสตูร. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มาตรฐานการอุดมศึกษา.

นุกูล ธรรมจง. (2558). เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ภาษาจีนระดับต้น 1. คณะมนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง.

ฝ่ายวิชาการสำนักพิมพ์แมนดารินเอดูเคชั่น. (2556). คู่มือการเรียนการสอนภาษาจีน. กรุงเทพฯ: แมน ดาอิน.

นุกลาง ธรรมจง. (2553). ผลการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงสัทอักษรจีนกลาง “ไทย พินอิน” ที่มีต่อความสามารถ ในการอ่านออกเสียงสัทอักษรจีนกลาง ของนักศึกษา โปรแกรมวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ หมู่บ้านจอมบึง. ค้นเมื่อ มิถุนายน, 2565 จาก http//www.thailis.or.th

เหยิน จิ่งเหวิน. (2544). ภาษาจีนระดับต้น 1. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

วันเพ็ญ ธูปอินทร์. (2556). ความสัมพันธ์ ระหว่างการใช้อํานาจของผู้บริหารกับแรงจูงใจใน การปฏิบัติงานของครูปฏิบัติการสอน โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพืÊนทีÉ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สหวิทยาเขตระยอง 1. งานนิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

จิตตินันท์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2555). การพัฒนาองค์ความรู้และสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ครอบครัว ศึกษา: ครอบครัวแบบพอเพียง ระยะที่ 2. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช

บรรเจิด ศุภราพงศ์. (2556). ความพึงพอใจของ ของผู้ปกครองของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาต่อการบริหาร งานของโรงเรียนปกช่องพิทยาคม สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนครราชสีมา. งานนิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

น้ำลิน เทียมแก้ว. (2556). ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปีการศึกษา 2555. มหาสารคาม: สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

向 影疏.(2564, หน้า1). การอ่านนั้นมิใช่แต่เพียงการอ่านตามตัวอักษรอย่างเดียวเท่านั้น แต่เราต้องจำ และทำความเข้าใจใน คำ ประโยค ข้อความที่ต่อเนื่องกัน https://www.zhihu.com/search

เผยแพร่แล้ว

2023-12-25