การพัฒนาครูเชิงพลวัตสู่โลก VUCA
คำสำคัญ:
การพัฒนาครู, พลวัต, การเรียนรู้ขององค์การ, ระดับการเรียนรู้บทคัดย่อ
สถานการณ์ของ VUCA World เป็นสถานการณ์ของโลกที่เต็มไปด้วยความผันผวน ไม่แน่นอน มีความซับซ้อนยุ่งยากและความคลุมเครือ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการเติบโตของสถานศึกษา จำเป็นอย่างยิ่งที่สถานศึกษาต้องปรับตัวและเตรียมรับมือให้ทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของโลกยุคใหม่ การยกระดับคุณภาพของสถานศึกษาโดยการพัฒนาคุณภาพครูด้วยการเรียนรู้ของโรงเรียน เป็นยุทธศาสตร์เชิงระบบใน 3 ระดับการเรียนรู้ของบุคคล กลุ่ม และองค์การสถานศึกษา มีความเป็นพลวัต (dynamics) ส่งพลังซึ่งและกันอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาให้เป็นครูมืออาชีพ นับว่าเป็นอีกหนึ่งแนวทางของการเติบโตขององค์การทางการศึกษาอย่างยั่งยืนไปพร้อมกับโลก VUCA.
References
พิมพ์พันธ์ เตชะคุปต์. (2562). การเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง กับ PLC เพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2018). ผู้นำองค์กรในโลก VUCA, Christian University of Thailand Journal Vol.24 No.3
(July-September), 451.
วิจารณ์ พานิช. (2550). วิถีแห่งองค์กรอัจฉริยะ. กรุงเทพฯ: จุลสารอุตสาหกรรมสัมพันธ์.
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2555). พลวัต (6 สิงหาคม 2555) เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2565 เข้าถึงได้จาก http://legacy.orst.go.th
Marquardt, M. J., (2550). การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ [Building the Learning Organization] (วีรวุธ มาฆะศิรานนท์). กรุงเทพฯ: เอ็กซ์เปอร์เน๊ท. (ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 2005)
Marquardt, M. J., (2557). การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ [Building the Learning Organization] (กานต์สุดา มายะศิรานนท์). กรุงเทพฯ: เอ็กซ์เปอร์เน๊ท. (ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 2011)
Redding, J.(1994). Strategic reddiness: the making of the learning organization. San Francisco: Jossey-Bass
Schein, E. (2010). Organizational culture and leadership. Francisco: Jossey-Bass
Senge, P. (2006). The Fifth Discipline. New York : Random House
Swanson, R.A., and Holton III, E. F. (2009), Foundations of Human Resource Development, 2nd, San Francisco, CA: Berrett - Koehler, อ้างถึงใน สุธินี ฤกษ์ขำ., (2560), การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หลักการและการประยุกต์, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Urbinner., (2562)., Dialogue หลักการของสุนทรียสนทนา เพื่อสร้างพื้นที่ว่างให้โอกาสสร้างสรรค์ เข้าถึงได้จาก