ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ของผู้บริหารสถานศึกษา
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง, ผู้บริหารสถานศึกษาบทคัดย่อ
ปัจจุบันสถานการณ์ต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงมากมาย การดำเนินการในทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคมการเมือง การดำเนินงานขององค์กรจำเป็นจะต้องมีการวางแผนและกระทำอย่างรอบคอบ พิจารณาและคิดให้ถี่ถ้วนในการดำเนินการ องค์กรที่มีเป้าหมายมุ่งสู่ความเป็นเลิศ จึงจะต้องรู้จักการเรียนรู้ ปรับตัวเพื่อสอดรับกับความเปลี่ยนแปลง นับว่าเป็นความท้าทายของผู้บริหารผู้ซึ่งเป็นบุคคลที่จะนำพาองค์กรมุ่งสู่ผลสำเร็จบรรลุเป้าหมาย โดยใช้อิทธิพลและการจูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ สามารถชักจูงโน้มน้าวให้บุคคลในองค์กรปฏิบัติงานได้จนสำเร็จและบรรลุเป้าหมายขององค์กร บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ 1)เพื่อเสนอแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และ 2)เพื่อเสนอแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา
References
นิติมา เทียนทอง. (2544). ภาวะผู้นำของผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษาในทศวรรษหน้า. ปริญญา การศึกษา มหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
เนตร์พัณณา ยาวิราช, ภาวะผู้นาและผู้นาเชิงกลยุทธ์ (กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ลกรุ๊ฟ, 2551), 12.
มัทนา วังถนอมศักดิ์. (2561). ภาวะผู้นำทางการศึกษา ทฤษฎีและการปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1 (นครปฐม: บริษัทเพชรเกษมพริ้นติ้งกรุ๊ปจำกัด).
มารุต สมวงศ์. (2555). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงจากการศึกายุคใหม่. สืบค้น 21 ตุลาคม 2565,
เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/373193
รัตติกรณ์ จงวิศาล (2544). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท นามมีบุ๊คจำกัด.
โสภณ ภูเก้าล้น. (2555). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง. สืบค้น 21 ตุลาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/108887
อรวรรณ ภัทรดำเนินสุข (2564) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม. ปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาบริหารหารศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Avolio, Waldman and Einstein 1988 : 59-60.
Bernard M. Bass, Leadership and Performance Beyand Expectations (Thousand Oaks Sage Pubications 1994), 16.
Kouzes, J.M.J., and B. Posner, (2002) The Leadership Practices Inventory: Theory and Evidence behind the Five Practices of Exemplary Leaders. Available from: https://www.leadershipchallenge.com
Warrilow Steven. (2012). Transformational Leadership Theory-The 4 Keys components in leading change and managing change.
Yuki, Gary, and Falbe, C.M. (1991). “The importance of different power souroes in downward lateral relations Journal of Applied Psychology, 76. 416-423.