แนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING โดยใช้หลักโยนิโสมนสิการของโรงเรียน ในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้, ระบบ E-Learning, หลักโยนิโสมนสิการบทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปทางการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING ของโรงเรียนในอำเภอเมืองสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING กับ หลักโยนิโสมนสิการ ของโรงเรียนในอำเภอเมืองสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช 3) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING โดยใช้หลักโยนิโสมนสิการ ของโรงเรียนในอำเภอเมืองสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ของโรงเรียนในอำเภอเมืองสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช กลุ่มประชากรที่ใช้ในการทำวิจัยเชิงปริมาณแบบสำรวจ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน ทั้งสิ้น 584 คน กลุ่มตัวอย่าง คัดเลือกโดยพิจารณาตามหลักเกณฑ์และคุณสมบัติโดยมีบทบาทหน้าที่ทางการจัดการเรียนการสอนและการบริหารการศึกษาภายในสถานศึกษา วิธีการได้มาซึ่งแบบถั่วเฉลี่ย (โดยวิธีสุ่ม) โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5 จากตารางเทียบค่าทาโร่ ยามาเน่ จึงได้กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 250 คน จาก 8 โรงเรียนในอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามวัดค่า 5 ระดับ ของลิเคิร์ท สเกลล์
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาพบว่า สภาพทั่วไปทางการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING ของโรงเรียนในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช ผู้ตอบแบบสอบถามด้านสภาพทั่วไปทางการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
(x̄ = 4.95, S.D. = 0.17) 2) ผลการศึกษาพบว่า สภาพการจัดการเรียนรู้ ด้วยระบบ E-LEARNING โดยใช้หลักโยนิโสมนสิการของโรงเรียนในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.82, S.D. = 0.43) และ 3) แนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING ของโรงเรียนในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช ดังนี้ การจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING โดยใช้หลักโยนิโสมนสิการของโรงเรียนในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช ด้านการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.82, S.D. = 0.46) โดยข้อ 4 มีการสนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุง พัฒนาสื่อการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x̄ = 4.91, S.D. = 0.41) รองลงมาคือ ข้อ 5 มีการมอบหมายบุคลากรในการทำงานได้ อย่างเหมาะสม (x̄ = 4.90, S.D. = 0.39) และค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อ 2 มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการดำเนินงานในแต่ละส่วนได้อย่างเหมาะสม และ ด้านการมีส่วนร่วม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.76, S.D. = 0.43) โดยข้อ 3 การมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาด้านการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING (x̄ = 4.83, S.D. = 0.375) และ ข้อ 1 มีการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรฐานวิชาการของสถานศึกษา (x̄ = 4.83, S.D. = 0.37) มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากัน รองลงมาคือ ข้อ 5 ส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน (x̄ = 4.82, S.D. = 0.38) และ ค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อ 4 สร้างจิตสำนึกให้บุคลากรทุกคน มีวัฒนธรรมในการทำงานร่วมกัน (x̄ = 4.61, S.D. = 0.48)
References
คุรุวาณิชย์, น้อยสันเทียะ, ภาคภากร, อ. (2564). ทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ Experiential LearningTheory (ELT). Retrieved from ทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ หรือ Experiential Learning Theory (ELT): https://www.lifeeducation.in.th/positive-education/
ชาลิสา จิตบุญญาพินิจ และคณะ. (2559). ผลการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนอีเลิร์นนิ่งในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: SPUCON 2016-การเรียนการสอน(1).pdf
ณัฐสุดา เขตต์โลก. (2562) (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน, 2562. การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน,2562: https://nutsuda23.blogspot.com/p/blog-page.html
ปยุตฺโต, พ. (2556). (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). โยนิโสมนสิการ - วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม, 2556. Retrieved from โยนิโสมนสิการ-วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม: https://www.watnyanaves.net/
uploads/File/books/pdf/yonisomanasikara_thinking_in_ways_of_buddhadhamma.pdf
พระมหาไพจิตร อุตฺตมธมฺโม และคณะ. (2563) (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนระบบ e-Learning, 2564. เข้าถึงได้จาก การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนระบบ e-Learning, 2564: https://mrc.mbu.ac.th/?p=7124
พลอยไพลิน นิลกรรณ. (2562) (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก, 2562. เข้าถึงได้จาก แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก http://www.sesalpglpn.go.th/wpcontent/
uploads/2021/05/book49-64.pdf
มนัสนันท์ หัตถศักดิ์ และคณะ. (2564), การศึกษาสภาพปัญหาและความพึงพอใจในการเรียนรูปแบบออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด19) ของนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.13807-Article Text-40646-43793-10-20210714.pdf
วารินท์พร ฟันเฟื่องฟู. (2562) (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). การจัดการเรียนรู้.เข้าถึงได้จาก สะเต็มศึกษา กับการศึกษาไทย: เข้าถึงได้จากhttp://acad.vru.ac.th/Journal/journal%207_2/7 _2_2.pdf
วไลพรรณ อาจารีวัฒนา และคณะ. (2563) สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565, การศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนาของนักศึกษาโครงการพิเศษหลักสูตรบริหารธุรกิจหาบัณฑิต.เข้าถึงได้จาก Online Teaching And Learning During The COVID-19 Pandemic M.B.A. Students 2562-1-1_1607513792.pdf (ru.ac.th)
สุวัฒน์ บันลือ. (2561). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เหมาะสมสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี. (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: ครูศิวธิดา_full.pdf (surasak.ac.th)
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563) (6 ตุลาคม 2565).กระทรวงศึกษาธิการ. เข้าถึงได้จากกระทรวงศึกษาธิการ. https://www.moe.go.th/
สำนักงานคณะกรรมการการกฤษฎีกา. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ, 2542. (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก สำนักงานคณะกรรมการการกฤษฎีกา, 2542: https://www.moe.go.th/backend/wp-content/uploads/2020/10/1.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). ประเด็นยุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้, 2562. (สืบค้น เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565).เข้าถึงได้จาก: ประเด็นยุทธศาสตร์ การจัดการเรียนรู้,2562: http://smart.obec.go.th/web/?module=data_view&id=15
สำนักงานศึกษาธิการ ภาค3. (2563). การเรียนรู้กับรูปแบบการเรียนการสอน. (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก:การเรียนรู้กับรูปแบบการเรียนการสอนhttp://onec.go.th/th.php/book/BookView/362
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกำแพงเพชร. (2564). การจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING, 2563. (สืบค้น เมื่อวันที่6 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: การจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ E-LEARNING: www.kptpeo.moe.go.th/web/index.php?option=com
สำนักงานสภาการศึกษา. (2562). การจัดการเรียนรู้, 2562. เข้าถึงได้จาก การจัดการเรียนรู้, (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก:http://www.onec.go.th/index.php
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้, 2560. (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก:แนวทางการจัดการเรียนรู้, 2560: http://academic.obec.go.th/
web/home
ฮู และ ดันแคน. (Hough and Duncan 1970: 144). การจัดการเรียนรู้ (Learning Management). (สืบค้นเมื่อวันที่5 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: การจัดการเรียนรู้ (Learning Management): https://www.kansuksa.com/
A. Kolb, D. (2019, Oct 16). Experiential Learning. (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). Retrieved from Learning Theory: https://thepotential.org/knowledge/experiential-learning-infographic/
Ammar Y. Alqahtani และ Albraa A. Rajkhan. (2020), ปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญของ E-Learning ในช่วงการ ระบาดของ COVID-19: การวิเคราะห์มุมมองการจัดการ E-Learning อย่างครอบคลุม, Retrieved from https://www.semanticscholar.org/paper/E-Learning-Critical-Success. Carkson et tal. (2020). การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction). เข้าถึงได้จาก การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction): https://www.kroobannok.com/133
Chafi Essaid. (2020). Teacher Excessive Pedagogical Authority in Moroccan Primary Classroom, 2016.(สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: Teacher Excessive Pedagogical Authority Clark. (2020). การจัดการเรียนรู้. (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: แนวคิด ทฤษฎี: http://cmruir.cmru.ac.th/bitstream/123456789/806/5/Chapter2.pdf Daxiang
Dai Tangquan Middle School, Xuyue Xia Nantong University. (2020), Whether the School Self-Developed e-Learning Platform is More Conducive to Learning during the COVID-19 Pandemic?, เข้าถึงได้จาก https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=
DimahAl
Fraihat, MikeJoy, Ra'edMasa'deh และJaneSinclair. (2020). Evaluating E-learning systems success: An empiricalstudy. (สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: https://www.semanticscholar.org/paper/Evaluating-E-learning-systems-success%3A-An-empirical-Al-FraihatJoy/19949e5b2a2d8e7c579523610d772507ff31067f
Horton. (2020). การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction). (สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction): https://www.kroobannok.com/133Khan.(2020). https://www.bing.com/search?q=khan
+1997&qs=n&form=QBRE&sp=1&pq=&sc=00&sk=&cvid=7A9C30EBE5B64CF38C9515834E8A1030&ghsh=0&ghacc=0&ghpl=c. (สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: Web-based instruction:https://www.bing.com/search?q=khan+1997&qs=n&form=QBRE&sp
=1&pq=
Relan and Gillani. (2020). Enhancing College Students’ Satisfaction and Learning Interest When the Teacher Uses a Web-based Platform While Teaching. (สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: Science and Education:
Slavko Rakic, Nemanja Tasic, Ugljesa Marjanovic University of Novi Sad, Novi Sad, เซอร์เบีย. (2020). ผลงานของนักเรียนบนแพลตฟอร์มอีเลิร์นนิง: วิธีการแบบผสม, เข้าถึงได้จาก https://www.researchgate.net/profile/Slavko-RakicSonia San-Martín, Nadia Jiménez Paula Rodríguez-Torrico. (2020), (สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2565). เข้าถึงได้จาก: https://www.researchgate.net/profile/Sonia-San-Martin