อิทธิพลของปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อพลวัตประชากร บริเวณทุ่งรังสิต จังหวัดปทุมธานี

Main Article Content

สุภัชชา อุทยานินทร์
อลงกรณ์ อินทรักษา
กิตติชัย ดวงมาลย์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร 2. หาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร 3. เพื่อทราบถึงอิทธิพลของปัจจัยทางสังคม และเศรษฐกิจที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร บริเวณทุ่งรังสิต จังหวัดปทุมธานี ในพื้นที่ชุมชน คลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง และชุมชนบึงชำอ้อ อำเภอหนองเสือ โดยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติของการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างของประชากร ในปี พ.ศ. 2539 - 2559 ร่วมกับการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ กำหนดระดับนัยสำคัญ ทางสถิติที่ 0.01 และ 0.05 จากแบบสัมภาษณ์ของกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวนทั้งสิ้น 742 ตัวอย่าง ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่ศึกษาทั้งสองพื้นที่ได้รับอิทธิพลของปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรแตกต่างกัน โดยชุมชนคลองหนึ่ง ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งปัจจัยทางสังคมมีอิทธิพลมากกว่าปัจจัยทาง เศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ชุมชนบึงชำอ้อ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ เป็นเพียงปัจจัยเดียวที่มีอิทธิพลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรในพื้นที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่งผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรอย่างช้าๆ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ตุลวิทย์ สถาปนจารุ. (2560). การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สุขภาพและสังคมจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ ที่ดินต่อพื้นที่เกษตรและชุมชนเกษตรกร บริเวณทุ่งรังสิต (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อ การพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เทียนฉาย กีระนันทน์. (2528). ประชากรศาสตร์ศาสตร์: หลักการและการวัดสำหรับนักเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เปี่ยมสุข สนิท. (2552). ความเชื่อมโยงระหว่างชนบทและเมืองด้านอุตสาหกรรมในพื้นที่ขยายตัวของมหานครกรุงเทพ: กรณีศึกษาจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง, 6(2), 71-87.
ปราโมทย์ ประสาทกุล. (2543). ประชากรศาสตร์:สารัตถศึกษาเรื่องประชากรมนุษย์. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์อมรินทร์พริ้น ติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง
เพ็ญพร ธีระสวัสดิ์. (2540). ประชากรศาสตร์:สาระสำคัญโดยสังเขป. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
วสวัตติ์ สุติญญามณี. (2558). จากชนบทสู่เมือง:ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อและผลกระทบจากการย้ายถิ่น. วารสารเกษมบัณฑิต, 16(1), 102-112
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2558). ศัพทานุกรมการวิจัยทางประชากรและสังคมฉบับปี 2558. พิมพ์ครั้งที่ 2. นครปฐม: สำนักพิมพ์ประชากรและสังคม สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สันทัด เสริมศรี. (2541). ประชากรศาสตร์ทางสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สามเจริญพานิช(กรุงเทพ) จำกัด.
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. (2549). ผืนดินพระราชทานในเขตปฏิรูปที่ดิน. [ม.ป.ท].

Translated Thai Reference
Agricultural land reform office. (2007). Royal donated land in the Agricultural land reform. [n.p.]. (in thai). Department of provincial administration. (2017). Population and housing statistics, Retrieved July 20, 2017, from http://stat.bora. dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/ (in thai).
Institute for Population and Social Research Mahidol University. (2015). Glossary of Terms in Population and Social Research 2015. (2nd ed.). Nakhon Pathom: Institute for Population and Social Research, Mahidol University. (in thai).
Sanit Peamsook. (2009). Rural-Urban Linkages Pertaining to Manufacturing in Bangkok Mega-Urban Region: A Case Study of Pathum Thani Province. Journal of Architectural/Planning Research and Studies. , 6(2), 71-87. (in thai).
Theresawat Penporn. (2540). Demography: Essence. (2nded.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in thai).
Prasartkul Pramote. (2000). Population dynamics. Bangkok: Amarin Printing & Publishing Co., Ltd. (in thai).
Sermsri Santhat. (1998). Social demography. (2nded.). Bangkok: Samcharoen Panich Co., Ltd. (in thai).
Thienchai Kiranan.(1985). Demography: Theory and Measurement for Economists. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in thai).
Satapanajaru Tunlawit. (2017). Environmental Health and Social Assessments from Land Use Pattern Changes on Agricultural Area and Community at Rangsit Basin (Research Report). Bangkok: Kasetsart Research and Development Institute. (in thai).