ปัจจัยที่เป็นเหตุและผลของความสามารถภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

Main Article Content

ดร. จันทนา แสนสุข

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ความสามารถของตน ความสามารถในการปรับตัว ความ รับผิดชอบต่อสังคม และความตระหนักในการแข่งขัน ส่งผลต่อความสามารถภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ และศึกษาความ สามารถภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์การ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากอธิการบดีและคณบดี ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย จำนวน 188 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ และการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่ายในการทดสอบสมมติฐาน ด้วยโปรแกรม สำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความสามารถของตน ความสามารถในการปรับตัว และความรับผิดชอบต่อ สังคมส่งผลเชิงบวกต่อความสามารถภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ สำหรับความตระหนักในการแข่งขันไม่ส่งผลต่อความ สามารถภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ ในขณะเดียวกันความสามารถภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์การ ซึ่ง ผลของการวิจัยจะเป็นแนวทางสำหรับผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาของไทยในการพัฒนาตนเองและองค์การให้มี ประสิทธิผลยิ่งขึ้น เพื่อนำไปสู่ความได้เปรียบการแข่งขันอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรรณิการ์ จิตต์บรรเทา. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเอง และความคาดหวังในผลการ เรียนภาษาอังกฤษ กับความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ขาบธัช ปัญจมะวัต. (2551). ผลกระทบความรับผิดชอบต่อสังคมต่อการเพิ่มมูลค่าธุรกิจ ของบริษัทจดทะเบียนในต ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. คณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ชมพู โกติรัมย์. (2554, พฤษภาคม 28). มหาวิทยาลัยกับความรับผิดชอบต่อสังคม. ไทยโพสต์. ค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2554, จาก http://www.thaipost.net/node/39296.
จีรพัฒน์ ศิริรักษ์, ชไมพร ใจแปง. (2552). ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) พฤติกรรมที่พึงประสงค์ในองค์กร. คณะสังคมศาสตร์และสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียว.
ตามพงษ์ วงษ์จันทร์. (2552). เตรียมความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน คุณจะต้องเตรียมตัวอย่างไร. โลกของอาชีพ ข้อคิดในการทำงาน. ค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2555, จาก http://www.stou.ac.th/Offices/Oes/OesPage/ Guide/career/career_page2/box004.html.
นฤมล สุภาทอง. (2550). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
นวลลักขณ์ บุษบง. (2550). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงกลาโหม. กทม.: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.)
พิศสุภา ปัจฉิมสวัสดิ์. (2552). การวิเคราะห์ปัจจัยภาวะผู้นำของหัวหน้าภาควิชาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของภาควิชาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภาวิช ทองโรจน์. (2555). สภาสถาบันอุดมศึกษากับการพัฒนาอุดมศึกษา. ค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2555, จาก http://www.dusit. ac.th/course/standard/No-3.pdf. CEO Talk. (2550, เมษายน 28-30). ประชาชาติธุรกิจ. หนา้ 34.
อัมพร อิสสรารักษ์. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.) มหาวิทยาลัยบูรพา.
Anderson, D. W., Krajewski, H. T., Goffin, R. D., & Jackson, D. N. (2008). A Leadership Self-Efficacy Taxonomy and its Relation to Effective. Leadership Quarterly, 19(5), 595-608.
Auh, S. & Menguc, B. (2005). Balancing exploration and exploitation: The moderating role of competitive intensity. Journal of Business Research, 58(12), 1652-1661.
Bandura, A. (1986). The Social Foundations of Thought and Action, Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall, Boal, K. B. & Schultz, P. L. (2007). Storytelling, time, and evolution: The role of strategic leadership in complex adaptive systems. The Leadership Quarterly,18(4), 411-428
McCormick, M. J., Tanguma, J., & López-Forment, A. S. (2002). Extending self-efficacy theory to leadership: A review and empirical test. Journal of Leadership Education, 1(2), 34-49
Gajewski, M. (2012). What is Adaptive Capacity? Changing River Consulting. Retrieved May 20, 2013, form http://www.changing-river.com/2012/05/what-is-adaptive-capacity/.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis 6thEd. Prentice Hall.
Hitt, M. A. (1998). Twenty-first century organizations: Business firms, business schools, and the Academy. Academy of Management Review, 23(2), 218-224.
Hitt, M. A., Haynes, K. T., & Serpa, R. (2010). Strategic leadership for the 21st century.Business Horizons, 53(5), 437-444.
Nikitakos, N., Maria, A. & Lambrou, M. A. (2007). Digital shipping: The Greek experience. Research in Transportation Economics, 21(1), 383–417.
O’Cass, A., & Weerawardena, J. (2009). The effects of perceived industry competitive intensity and marketing-related capabilities: Drivers of superior brand performance. Industrial Marketing Management, 6(9), 1-11.
Sansook, J. & Ussahawanitchakit, P. (2008). The influences of teamwork on organizational effectiveness: An empirical study of automotive manufacturing in Thailand. International Journal of Strategic Management, 8(2)
Thomas, R. J. (2008). Crucibles of leadership: How to learn from experience to become a great leader. Harvard Business School Press.
Ussahawanitchakit, P. (2011). Strategic leadership, organizational learning, organizational innovation, and performance: Evidence from electronics businesses in Thailand. Journal Of Academy Of Business And Economics, 11(2),1-12
Waldman, D., Javidan, M., & Varella, P. (2004). Charismatic leadership at the strategic level: A new application of upper echelon theory. Leadership Quarterly, 15(3), 355-380.