ผลลัพธ์และผลกระทบของงานวิจัยด้านปาล์มน้ำมันในประเทศไทยและกรณีศึกษา

Main Article Content

สุวรรณา ประณีตวตกุล
กัมปนาท วิจิตรศรีกมล

บทคัดย่อ

งานวิจัยด้านปาล์มน้ำมันมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การประเมินผลลัพธ์และกระทบของงานวิจัยมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการงานวิจัยในอนาคต งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมวลสถานภาพและประเมินผลกระทบของงานวิจัยด้านปาล์มน้ำมันในประเทศไทย วิธีวิจัยประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล จากฐานข้อมูลในระบบบริหารจัดการงานวิจัยแห่งชาติ (National Research Management System: NRMS) ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2560 จำนวน 571 โครงการ และแบบสอบถามจำนวน 251 ตัวอย่าง รวมทั้งการประชุมกลุ่มย่อย การประเมินผลลัพธ์และผลกระทบจากงานวิจัยอาศัยการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ผลการศึกษา พบว่า งานวิจัยด้านปาล์มน้ำมันในช่วงปี พ.ศ. 2551-2560 มีการลงทุนงานวิจัยรวมจำนวน 699 ล้านบาท ผลผลิตหลักจากงานวิจัย ได้แก่ เครื่องจักร เทคโนโลยี และนวัตกรรม (ร้อยละ 51) ผลลัพธ์ด้านทรัพย์สินทางปัญญาจากงานวิจัยในช่วง ปี พ.ศ. 2535-2560 มีจำนวนทั้งสิ้น 66 รายการ ผลกระทบจากโครงการวิจัยในเชิงบวก คิดเป็นร้อยละ 77 ของตัวอย่างทั้งหมด โดยสร้างผลกระทบทางเศรษฐกิจสูงที่สุด โครงการปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันพันธุ์ลูกผสมสุราษฎร์ธานี 7 8 และ 9 ในช่วงปี พ.ศ. 2546-2560 พบว่า มีความคุ้มค่าต่อการลงทุนงานวิจัย มีมูลค่าผลประโยชน์ปัจจุบันสุทธิ ณ. ปี พ.ศ. 2560 จำนวน 117 ล้านบาท โดยสรุปงานวิจัยด้านปาล์มน้ำมันได้สร้างผลประโยชน์ต่อชุมชนแล้วและสร้างกระทบทางเศรษฐกิจอย่างสูง ผู้เกี่ยวข้องควรผลักดันเทคโนโลยีสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์อย่างจริงจังในอนาคตข้างหน้าต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการเกษตร. (2558). คำแนะนำพันธุ์ปาล์มน้ำมัน. ศูนย์วิจัยปาล์มน้ำมันสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี.

ธัชพงศ์ เศรษฐบุตร. (2560). การพัฒนาสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ภาคอุตสาหกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารสมาคมนักวิจัย, 22 (2), 176-190.

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์. (2559). แนวโน้มเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย ปี 2560, 17 พฤษภาคม 2560. www.pandinthong.com/critic-dwl-th/382991791801

ธีระพงศ์ จันทรนิยม. (2551). กระบวนการไร้ของเสียในอุตสาหกรรมการสกัดน้ำมันปาล์ม. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 6(2), 159-164.

มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2555). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการประเมินผลการวิจัยของประเทศ. นำเสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

เยาวเรศ ทับพันธุ์. (2543). การประเมินโครงการตามแนวทางเศรษฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2 สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.

วารี ช้วนรักธรรม. (2548). นวัตกรรมน้ำมันปาล์มจากอุตสาหกรรมอาหารสู่แหล่งพลังงานทดแทนของไทย, 17 สิงหาคม 2560. http://www.technologymedia.co.th

วารีรัตน์ เพชรสีช่วง. (2559). อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน, 14 พฤษภาคม 2560. www.krungsri.com/bank/.../IO_OilPalm_2016_TH.aspx

ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์. (2547). การศึกษาผลสำเร็จของงานวิจัยเกษตรที่สูง โครงการหลวงในการพัฒนาเทคโนโลยี. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมพร อิสวิลานนท์. (2547). การประเมินผลกระทบของโครงการพัฒนาคุณภาพและลดต้นทุนการผลิตข้าวหอมมะลิ. กรุงเทพมหานคร

สมพร อิศวิลานนท์ และสุวรรณา ประณีตวตกุล. (2547). การประเมินผลกระทบจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์. ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมพร อิศวิลานนท์ และปิยะทัศน์ พาฬอนุรักษ์. (2561). การจัดการงานวิจัยสู่ผลผลัพธ์และผลกระทบ: แนวคิดและกรณีศึกษา. สถาบันคลังสมองของชาติ.

สุวรรณา ประณีตวตกุล และคณะ. (2558ก). โครงการศึกษาผลสำเร็จงานวิจัยต่อการพัฒนาพื้นที่สูง. ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุวรรณา ประณีตวตกุล และคณะ. (2558ข). การประเมินผลกระทบของงานวิจัยด้านมันสำปะหลังในประเทศไทย. ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุวรรณา ประณีตวตกุล, กัมปนาท วิจิตรศรีกมล และ เอื้อ สิริจินดา. (2560). โครงการวิจัยการประเมินผลกระทบของงานวิจัยด้านอ้อยและน้ำตาลในประเทศไทย. ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุวรรณา ประณีตวตกุล, กัมปนาท วิจิตรศรีกมล, เอื้อ สิริจินดา และ.นภสม สินเพิ่มสุขสกุล. (2561ก). การประเมินผลกระทบของงานวิจัยด้านปาล์มน้ำมันในประเทศไทย. ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุวรรณา ประณีตวตกุล กัมปนาท วิจิตรศรีกมล จุฑามาศ เลิศอยู่สุข และ บุษกร ก้อนทอง. (2561ข). เส้นทางสู่ผลกระทบจากงานวิจัยอ้อยและน้ำตาลในประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 23(2), 45-58.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2550). การประเมินความคุ้มค่าของการวิจัยในภาพรวมของประเทศ. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

สำนักงานวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. (2558). สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2558. กรุงเทพมหานคร

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2556). โครงการพัฒนาความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมกับประเทศเพื่อนบ้าน. ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

เอนก ลิ่มศรีวิไล. (2554). ความสำคัญของการพัฒนาปาล์มน้ำมัน เพื่อใช้ในการเพิ่มผลผลิตของพลังงานทดแทน. วารสารแก่นเกษตร, 39 (2), 31-34.

ACIAR. (2008). Guidelines for assessing the impacts of ACIAR’s research activities. ACIAR Impact Assessment Series 58. Australia.

Alston, J.M., G.W. Norton and P.G. Pardy. (1998). Science Under Scarcity Principle and Practice for Agricultural Research Evaluation and Priority Setting. CAB International Publishing.

CGIAR. (2008). Strategic Guidance for Ex Post Impact Assessment of Agricultural Research. Consultative Group on International Agricultural Research.Green Link Publishing, UK.

Evenson, R. E. (2001). Economic impacts of agricultural research and extension. In Gardner, B. L. and Rausser, G. C. (Eds.) Handbook of Agricultural Economics, edition 1, volume 1, chapter 11, pages 573-628. Elsevier.

Griliches, Z. (1998). Land and Productivity: The Econometric Evidence. Chicago, The University of Chicago Press.

Khandker, S.R., G.B. Koolwal and H.A. Samad. (2010). Handbook on Impact Evaluation Quantitative Methods and Practices. The World Bank. USA.

Scopus. (2018). Oil palm and Thailand, 27 September 2018. https://www.scopus.com

Templeton, D. (2005). Outcomes: Evaluating Agricultural Research Projects to Achieve and to MeasureImpact. Australia: Australian Center for International Agricultural Research.

Web of Science. (2018). oil palm and Thailand, 27 September, 2018. http://apps.webofknowledge.com/WOS

Translated Thai Reference
Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives. (2016). World Economic Outlook and the Thai Economy in 2016. Retrieved May 17, 2017, from . www.pandinthong.com/critic-dwl-th/382991791801. (in Thai).

Center for Applied Economics Research. (2004). Assessment of the Success of Highland Agricultural Research in Thailand. Bangkok: Kasetsart University. (in Thai)

Chuanrukthum, Waree. (2005). Innovation of palm oil from food industry to Thai renewable energy sources. Retrieved August 17, 2017, from. http://www.technologymedia.co.th. (in Thai).

Department of Agriculture. (2015). Oil Palm Guide. Suratthani oil palm research center. Suratthani. (in Thai).

Isvilanonda, Somporn. (2004). Impact assessment of quality improvement projects and reduction of jasmine rice production cost. Bangkok. (in Thai).

Isvilanonda, Somporn and Praneetvatakul, Suwanna. (2004). Impact Assessment of Science Researches. Bangkok: Center for Applied Economics Research of Kasetsart University. (in Thai).

Isvilanonda, Somporn and Pananurak, Piyatat. (2018). Research Management for Outcome and Impact: Concepts and Case Studies. Knowledge Network Institute of Thailand. (in Thai).

Jungniyom, Teerapong. (2008). Zero - waste Process in Oil Palm Extraction Industries. Hatyai Journal, 6(2), , 159-164. (in Thai).

Limsriwilai, Anek. (2011). Importance of oil palm development to increase the yield of renewable energy. Khon Kaen Agriculture Journal, 39 (2), 31-34. (in Thai).

National Science and Technology Development Agency. (2007). Evaluating the value of research in the country as a whole. National research council of thailand. (in Thai).

Office of Agricultiral Economics. (2015). Agricultural statistics of Thailand 2015. Bangkok. (in Thai).

Office of Industrial Economics. (2013). Industrial cooperation with neighboring countries. Center for International Trade Studies. Faculty of Economics. University of the Thai Chamber of Commerce. (in Thai).

Petchseechoung, Wareerat. (2016). Palm oil industry. Retrieved May 14, 2017, from. www.krungsri.com/bank/.../IO_OilPalm_2016_TH.aspx. (in Thai).

Praneetvatakul, Suwanna. Et.al. (2015a). Impact Assessment of highland development Research projects. Bangkok: Center for Applied Economics Research of Kasetsart University. (in Thai).

Praneetvatakul, Suwanna. Et.al. (2015b). Impact Assessment of cassava Researches in Thailand. Bangkok: Center for Applied Economics Research of Kasetsart University. (in Thai).

Praneetvatakul, Suwanna, Kampanat Vijitsrikamol and Aer Sirijinda. (2017). Impact Assessment of Sugarcane and Sugar Researches in Thailand. Bangkok: Center for Applied Economics Research of Kasetsart University. (in Thai).

Praneetvatakul, Suwanna, Kampanat Vijitsrikamol, Aer Sirijinda and Nopasom Sinphurmsukskul. (2018a). Impact Assessment of Palm Oil Research Projects in Thailand. Bangkok: Center for Applied Economics Research of Kasetsart University. (in Thai).

Praneetvatakul, Suwanna, Kampanat Vijitsrikamol, Chuthamad Lerdyoosuk and Bussagorn Kontong. (2018b). Impact Pathways of Sugarcane and Sugar Research in Thailand. Journal of the Association of Researchers, 23(2), 45-58. (in Thai).

Sattabut, Tatchapong. (2017). The Development of Human Resources Competency in Industry Sector to Provide the Readiness in ASEAN Community. Journal of the Association of Researchers, 22(2), 176-190. (in Thai).

Thailand Development Research Institute. (2012a). Final Report National Research Impact Assessment. Bangkok. Thailand Development Research Institute. (in Thai).

Thailand Development Research Institute. (2012b). Case Studies of Research and Development Evaluation 2011. Bangkok. Thailand Development Research Institute. (in Thai).

Tubpun, Yuavares. (2000). Project evaluation based on economic guidelines. Bangkok: Thammasat University. (in Thai).