Analysis of Administrative Factor and Best Practice for Private Schools Toward the Royal Award Requisition

Main Article Content

โด่งสยาม โสมาภา

Abstract

This research is a mixed methodology with the purposes to 1) Study the factor of private school administration toward Royal Award requisition. 2)Analyzeand explore best practices on private school administration toward Royal Award requisition. 3) Verify best practices on private school administration
toward Royal Award requisition. The sample of this research were from stratified random sampling which were the school’s registered, principal, vice principal or the assigned person from the principal with the total number of 302 persons from 1,064 private school in Bangkok and suburb under the Office of the Private Education Commission. The research instrument was a questionnaire constructed by the researcher with .96 reliability. The data was analyzed through mean ( x ) standard deviation (S.D.) t- test and exploratory factor analysis (EFA). The result of the research indicated that the factors and best practices of private schools toward the Royal Award requisition consist of two aspects. The first aspect was the administrative factors for excellence of private schools with seven factors which were 1) Professional leadership 2) Appropriate school environment 3) Emphasis on teaching process 4) Clarify teaching objective 5) Progressive monitoring policy 6) Community relationship 7) Child centered and 65 best practices. The second aspect was the administrative factors of private school toward the Royal Award requisition with five factors which were 1) Student’s quality 2) Curriculum and academic management 3) Administration and management 4) Personal management 5) School’s rewards and identity and 51 best practices

Article Details

Section
Research Articles

References

กมล ศิริสลุง. (2545.) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดลพบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา,สถาบันราชภัฏเทพสตรี.

กมลวรรณ ชัยวานิชศิริ. (2536.) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลโรงเรียนเอกชน. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

กานต์ เสกขุนทด. (2545.) การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดทำแผนกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียนนำร่องการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กรมวิชาการ. (2545.) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546.) คู่มือการประเมินต้นแบบโรงเรียนในฝัน (Online). http: //www.curric.net/eval/labschool_handbook.pdf, 12 เมษายน 2557.

กระทรวงศึกษาธิการ (2547.) แนวทางการบริหารและการพัฒนาสถานศึกษาสู่โรงเรียนคุณภาพ: Guidelines on thebest practice for quality school.กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

_____(2547.) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

_____(2553.) ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

ขัตติยา ด้วงสeราญ. (2552.) รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จรวยพร ธรณินทร์. ( 2539.) “กลยุทธ์เพื่อความอยู่รอดของโรงเรียนเอกชน.” วารสารกองทุนสงเคราะห์การศึกษาเอกชน 7(60): 14-15.

จิระพันธุ์ พิมพ์พันธุ์. (2535.) “ทำไมจึงต้องมีองค์ประกอบทั้ง 8 ในเกณฑ์มาตรฐาน. วารสารกองทุนสงเคราะห์การศึกษาเอกชน 5(38): 10.

จันทร์เพ็ญ กลับดี. (2547.) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสิงห์บุรี. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, สถาบันราชภัฏเทพสตรี.

จันทรานี สงวนนาม. (2545.) ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บุ๊คพอยท์.

จิราภรณ์ ตั้งกิตติภาภรณ์. (2553.) การตรวจวินิจฉัยองค์การเพื่อการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ: Organizational diagnosis for excellent development. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
.
จุไรรัตน์ สุดรุ่ง. (2539.) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานวิชาการในโรงเรียน มัธยมศึกษาขนาดใหญ่สังกัดกรมสามัญศึกษา: กรณีศึกษาโรงเรียนที่ได้รับรางวัลพระราชทานในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เจิดหล้า สุนทรวิภาต. (2534.) คุณลักษณะของผู้นำ และ ประสิทธิผลของงานในภาควิชาของคณะศึกษาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยไทย. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.

ฉัฐชาย แสงภู่วงษ์. (2546.) ปัจจัยที่ส่งผลให้สถานศึกษาได้รับรางวัลพระราชทาน: ศึกษาเฉพาะกรณีศึกษาโรงเรียนวัดลานคา.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, สถาบันราชภัฏกาญจนบุรี.

ธีรพนธ์ คงนาวัง. (2543.) การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษาที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดารุวรรณ ถวิลการ. (2552.) วัฒนธรรมองค์การในโรงเรียนรางวัลพระราชทาน: การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา.วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นิเวศน์ อุดมรัตน์. (2548) รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนเอกชนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศไทย.วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ปารณทัตต์ แสนวิเศษ. (2550.) คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนบางประการที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนครเขต 1 . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณทิต สาขาบริหารการศึกษา,มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

พนมพงษ์ ไพบูลย์. “ทัศนะบางประการเกี่ยวกับนักศึกษาเอกชน”. การศึกษาแห่งชาติ 13(16): 7-9.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์, ฉันทนา จันทร์บรรจง, สร้อยสน สกลรักษ์ และ ชุติมา พงษ์วรินทร์. 2553. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยสู่สากล: เปรียบเทียบประเทศจีนเวียดนามญี่ปุ่นเกาหลีเยอรมนีฟินแลนด์และประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพรวัลย์ พิทักษ์สาลี. (2549.) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับรางวัลพระราชทาน (ออนไลน์). bet.obec.go.th/RSBE/images/RSBE/RSBE_History_1-51.doc., 3 เมษายน 2557.

ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2545. การเข้าสู่ผู้บริหารมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร. (อัดสำเนา).

วรรณี ชลนภาสถิตย์. (2545.) การประเมินและการควบคุมกลยุทธ์. เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วันเพ็ญ บุรีสูงเนิน. (2552.) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จใสการบริหารสถานศึกษาขึ้นพื้นฐานเขตพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วุฒิชัย มูลศิลป์. (2532.) รายงานการวิจัยเรื่องพัฒนาการของการศึกษาเอกชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานการศึกษาเอกชน.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2542.) การบริหารเชิงกลยุทธ์และกรณีศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ศรีเพ็ชร์ จันทร์ส่องศรี. (2548.) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 1 และเขต 2. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ศุภลักษณ์ เศษธะพานิช. (2544.) การนำเสนอรูปแบบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จในโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

สมพร เมืองแป้น. (2548.) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ในสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุทธนา ฮั่นเกียรติพงษ์. (2552.) การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการที่เป็นเลิศของโรงเรียนอนุบาลเอกชน.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. (2549.) ข้อมูลจำนวนนักเรียนครูในโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2548(Online). from http: //www. moe.go.th., 31 มีนาคม 2557.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2543. 1 ปีการปฏิรูปการศึกษาเอกชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

_____(2543.) ระบบการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักนายกรัฐมนตร

_____(2545.) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545.กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

_____(2545.) แผนการศึกษาแห่งชาติ(พ.ศ. 2545 – 2549). กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. 2542. คู่มือปฏิบัติงาน ตรวจสอบคุณภาพโรงเรียนเอกชน. กรุงเทพมหานคร: การศาสนา.

______(2543.) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2540.) แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเอกชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน.กรุงเทพมหานคร: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักทดสอบทางการศึกษา. (2550.) โครงการคัดเลือกนักเรียนและสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน (Online).http: //bet.obec.go.th/RSBE/, 20 กันยายน 2550.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2547.) สรุปรายชื่อสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทานปีการศึกษา 2506 –2555. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำเริง ศาสตร์สมัย. (2543) การบริหารสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

อำรุง จันทวานิช. (2546.) “โรงเรียนสมบูรณ์แบบ”.วารสารวิชาการ6(1): 20-23.Arpie, B.G. 2007. Strategic management in a performance based organization (Online). http: //proquest.umi.com/, February 20, 2007. Agnew, D.W. 2011. Administrative Obstacles to Technology Use in West Virginia Public Schools:A Survey of West Virginia Principals. Ph.D. Dissertation, Educational Leadership Studies,Morgantown, West Virginia.

Anderson, R.E. and S. Dexter. 2005. “School technology leadership: An empirical investigation ofprevalence and impact”. Educational Administration Quarterly 41: 49-82.

Austin, G.E. and D. Reynolds. 1990. Managing for improved school effectiveness: An international survey. New York: School Organization.

Baldwin, M.D. 1994. “Implementation of strategic planning in a public school setting: a case study”.Dissertation Abstracts International 55(4): 224-A.

Barnett, H. 2001. Successful k-12 technology planning: Ten essential elements (Online). http: //www.ericdigest.org/2002-2/ten.htm, October 16, 2004.

Barney, H. and A. Robyn. 2005. OrganizationalPractices,School Improvement, Interventionsand Technical Assistance. Paper presented at the meeting of the American Educational Research Association,Montreal, Canada.

Baumgart, N. 1987. Equity, Quality and Cost in Higher Education. Bangkok: UNESCO Principle Regional office for Asia and Pacific.

Best, J.W. 1970. Research in Education. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall Inc.

Blumberg, A. and G. William. 1986. The Effective Principal: Perspectives on School Leadership. 2nd ed.Boston: Allyn and Bacon, Inc.

Brown, W.B. and D.J. Moberg. 1980. “Organization theory and management: A macro aproach”. Management Communication Quarterly 5: 443-484.

Certo, S.C. and J.P. Paul. 1991. Strategic Management: A Focus onProcess. New York: McGraw-Hill.

Chrispeels, J. and H. Ann. 1990. A Study of Factor Contributing to Achieving and Sustaining School Effective in Elementary Schools. London: Dissertation Abstracts International.

Collins, J. 2001. Good to Great. London: Random House.

Conrad, C.F. and R.T. Blackburn. 1985. “Correlates of departmental quality in regional”. American Educational Research Journal 22(2): 279-259.

Corcoran, T., S.H. Fuhrman and C.L. Belcher. 2001. “The district role in instructional Improvement”.Phi Delta Kappan83(1): 78-84

Creemers, B., J. Chrispeels, P. Mortimore, J. Murphy, D. Reynolds and S. Stringfield. 1998. “The future of school effectiveness and improvement”.School Effectivenessand School Improvement 9(2):125-134.

Frumkin, P. 2007. Creating New School: The Strategic Managementof Charter Schools (Online). http: //www.aecf.org, February 20, 2007.

Keeves, J.P. 1988. Educational research, methodology and measurement: An international Handbook.Oxford: Pergamon Press.

_______1988. Models and Model Building. inEducational Research, Methodology and Measurement:An International Handbook. U.K.: Pergamon Press.

Sergiovanni, T.J. 1991. The principals ship: A reflective practice perspective. 2nd ed. Needham Heights:Allyn and Bacon.

Tahakkori, A. and T. Charles. 1998. Mixed Methodology: Combining Qualitative and Quantitative Approaches. Thousand Oaks, California: Sage.

Teran, R. 1997. “A case study of strategic planning in a large urban school district (urban education)”.Dissertation Abstracts International 56(8): 14-19.

Thompson, A. and A.J. Strickland. 1995. Strategic Management concept and Cases. 8th ed. New York:Business.