การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความ สามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยางพาราแปรรูปขั้นต้นภายใต้การเปลี่ยนแปลงในลักษณะเชิงพลวิต

Main Article Content

ดร.โกศล จิตวิรัตน์
ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบ การภายใต้การเปลี่ยนแปลงในลักษณะเชิงพลวัต โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ยางพาราแปรรูปขั้นต้นขนาดกลางและขนาดย่อม จำนวน 470 ราย และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS และ LISREL ผลการวิจัยจากการศึกษาโดยใช้หลักทฤษฎีเป็นฐานปรากฏว่าพบปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อความสามารถทางการ แข่งขันจำนวน 7 องค์ประกอบ ดังนี้ การพัฒนาจิตวิญญาณความเป็นผู้ประกอบการ การจัดการเชิงกลยุทธ์ การพัฒนาทุน มนุษย์ วัฒนธรรมองค์การ โลจิสติกส์และซัพพลายเชน เครือข่ายวิสาหกิจที่ยั่งยืน และนโยบายรัฐบาล รวมทั้งการพัฒนา ปัจจัยสำคัญด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณโดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง ผลการวิเคราะห์โมเดลที่ปรับแก้ แล้วมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2554). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: ผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม. เอกสารประกอบการสัมมนา. กระทรวงพาณิชย์.

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์. (2552). ศูนย์เอกสารและข้อมูลธุรกิจ. ค้นเมื่อ 10 มกราคม 2552. จาก http:// www.thairegistration.com/mainsite/index.php?id=39

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2552). ปัญหาของ SMEs ในภาพรวม. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2552. จาก http://www.google. co.th/guru/thread?tid=68dce5b2cc0d1ef5

โกศล จิตวิรัตน์. (2551). กฎ 8 ประการในการเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันของผู้ประกอบการภายใต้ แนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงแบบพลวัต (Dynamic). วารสาร มทร.อีสาน, 1(1), 96-102.

โกศล จิตวิรัตน์. (2555). การจัดการการเปลี่ยนแปลง. เอกสารประกอบการสอนสาขาวิชาการจัดการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

โกศล จิตวิรัตน์. (2558). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงในงานวิจัย: เทคนิคการวิจัยใหม่ๆ. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.

โกศล จิตวิรัตน์ และคณะ. (2554). เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับในงานวิจัยด้วย โปรแกรม HLM. วารสาร สมาคมนักวิจัย, 16(2), 29-42.

โกศล จิตวิรัตน์ และคณะ. (2554). ศักยภาพของโปรแกรม Mplus กับการวิเคราะห์สถิติขั้นสูงในงานวิจัย. วารสารสมาคม นักวิจัย, 16(3), 53-65.

โกศล จิตวิรัตน์ และคณะ. (2555). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงในงานวิจัยด้วยโปรแกรม SPSS, LISREL, HLM และ Mplus. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

โกศล จิตวิรัตน์ และคณะ. (2556). การวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับด้วย โปรแกรม Mplus. วารสารสมาคมนักวิจัย, 18(2), 70-83.

โกศล จิตวิรัตน์ และรติพร ถึงฝั่ง. (2554). ปัญหาและข้อเสนอแนะในการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ด้วยโปรแกรม LISREL. วารสารสมาคมนักวิจัย, 16(1), 106-119.

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2556). การจัดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์การ. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.

สถาบันวิจัยยาง. (2554). สถิติยางไทยและสถิติยางโลก. ค้นเมื่อ 19 เมษายน 2554, จาก http://www.rubberthai. com/statistic/stat_index.htm

Beer, M. (2003). Managing Change and Transition. Boston: Harvard Business School Press.

Deal, T. E., & Kennedy, A. A. (1982). Corporate Cultures. Addison-Wesley Publishing Company, Inc.

Dobni, C. B. (2008). Measuring innovation culture in organizations; The development of a generalized innovation culture construct using exploratory factor analysis. European Journal of Innovation Management.

Bradford. 11(4), 539. Gardner, W. B. (1989). Some Suggestions for Research on Entrepreneurial Traits and Characteristics. Entrepreneurship: Theory and Practice. 14(1), 27-37.

Hu, Mei-Chih., & Mathews, J. A. (2009). Estimating the innovation effects of university-industry-government linkages: The case of Taiwan. Journal of Management and Organization, 15(2), 138-154.

Joreskog, K. G., & Sorbom, D. (1996). LISREL 8: User’s reference guide. Chicago, Illinois: Scientific Software International.

Ketels, C., Lindqvist, G., & Solvell, O. (2006). Cluster Initiatives in Developing and Transition Economies. Center for Strategy and Competitiveness, Stockholm School of Economics. Retrieved January 10, 2009. from http://www.cluster-research.org/dldocs/CIsDevelopingTransitionMay06.pdf

Lambert, D. M., Stock, J. R., & Ellram, L. M. (1998). Supply Chain and Logistics Management. McGrawHill, Inc. Lumpkin, G. T., & Dess, G. G. (1996). Clarifying The Entreprenurial Orientation Construct and Linking it to Performance. The Academy of Management Review. 21(1), 135-172.

Porter, M. E. (1985). Competitive Advantage: Creating and Sustaining Superior Performance. New York: The Free Press. Porter, M. E. (1998). Clusters and the New Economics of Competition. Harvard Business Review, 76(6), 77-90.

Schultz, T. W. (1961). Investment in human capital. The American Economic Review. Jstor. org. Thorne, K., & Pellant, A. (2007). The Essential Guide to Managing TALENT. Kogan Page Limited.