ปัจจัยที่มีอิทธิพลและตัวกลางในการวัดผลกระทบในการกำกับดูแลที่มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างมิติของความพึงพอใจในงาน และความพึงพอใจโดยรวม:กรณีศึกษาผู้บริหารระดับกลาง ในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การปรับปรุงความพึงพอใจในการทำงานของผู้จัดการระดับกลาง มีบทบาทสำคัญในความสำเร็จของบริษัทส่วนใหญ่ นับเป็นความท้าทายสำหรับผู้จัดการระดับสูง กลยุทธ์หนึ่งที่เป็นไปได้คือ การปรับปรุงความพึงพอใจในการทำงานโดยรวม โดยการผ่านการปรับปรุงในมิติของความพึงพอใจในการทำงานในรายด้าน การศึกษานี้เป็นการนำเสนอ และเป็นการ ทดสอบเชิงประจักษ์ของตัวกลางในการวัดผลกระทบในเชิงการกำกับดูแลที่มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างมิติของความ พึงพอใจในงานและความพึงพอใจโดยรวม:กรณีศึกษาผู้บริหารระดับกลางในประเทศไทย ซึ่งมีกรอบความคิดและการตั้ง สมมติฐานจากหลักแนวความคิดของการทบทวนวรรณกรรมตามแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ข้อมูลถูกรวบรวมจากผู้จัดการ ระดับกลาง โดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง และการวิเคราะห์โดยการสร้างโมเดลสมการโครงสร้างแบบสองกลุ่ม การศึกษานี้เพื่อเป็นการจัดวางกรอบแนวคิดและการหาข้อเสนอการวิจัย เพื่อใช้ในการตรวจสอบเชิงประจักษ์ใน อนาคต ผลการวิจัยจากการสืบสวนเชิงประจักษ์เป็นการให้ข้อมูลเชิงลึกและการบริหารการจัดการในด้านความพึงพอใจ ของผู้บริหารระดับกลางในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือ (1) เพื่อระบุมิติของความพึงพอใจในการทำงานในรายด้าน ที่เกี่ยวข้อง ในการกำหนดความพึงพอใจในการทำงานโดยรวม (2) เพื่อยืนยันตัวกลางในการวัดผลของการกำกับดูแลที่มุ่งเน้นความ สัมพันธ์ระหว่างมิติของความพึงพอใจในการทำงานในรายด้านและความพึงพอใจในการทำงานโดยรวม และ (3) เพอื่การ พัฒนาข้อมูลการวิจัยสำหรับการตรวจสอบข้อมูลเชิงประจักษ์ที่จะนำไปใช้ในอนาคต ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า มีการค้นพบองค์ความรู้ในศาสตร์ทางด้านความพึงพอใจในการทำงาน จากการพัฒนา ผ่านมุมมองทางด้านทฤษฎี ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างเป็นกรอบแนวคิดและการทดสอบข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อใช้เป็นตัวแบบ ของตัวกลางในการวัดความสัมพันธ์ของผลกระทบในเชิงกำกับดูแลที่มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในการ ทำงานรายด้านและความพึงพอใจในการทำงานโดยรวมของผู้จัดการระดับกลาง และปัจจัยที่สำคัญของความพึงพอใจใน การทำงานคือ ความพึงพอใจด้านค่าตอบแทน ความพึงพอใจในด้านการได้รับโอกาสในการเลื่อนตำแหน่ง ความพึงพอใจ ในด้านการมีโอกาสในการเรียนรู้ ความพึงพอใจในด้านมีความมั่นคงในการทำงาน และความพึงพอใจในด้านสภาพแวดล้อม ในการทำงาน ซึ่งจากผลการศึกษาดังกล่าวสามารถนำไปใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
Article Details
บทความที่ปรากฏในวารสารนี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ซึ่งสมาคมนักวิจัยไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป การนำเสนอผลงานวิจัยและบทความในวารสารนี้ไปเผยแพร่สามารถกระทำได้ โดยระบุแหล่งอ้างอิงจาก "วารสารสมาคมนักวิจัย"
References
Brockner, J. and Higgins, E. T. (2001). Regulatory focus theory: Implications for the study of emotions at work. Organizational Behavior and Human Decision Processes, 86(1), 35-66.
Churchill, Jr., G. A., Ford, N. M., and Walker, Jr., O. C. (1974). Measuring the job satisfaction of industrial salesmen.Journal of Marketing Research, 11(August): 254-260.
Gorman, C. A., Meriac, J. P., Overstreet, B. L., Apodaca, S., McIntyre, A. L., Park, P., and Godbey, J. N. (2012). A meta-analysis of the regulatory focus nomological network: Work-related antecedents and consequences. Journal of Vocational Behavior, 80: 160-172. Forster, J., Higgins, E. Tl, and Idson, L. C. (1998). Approach and avoidance strength during goal attainment: Regulatory focus and the “Goal Looms Larger” effect. Journal of Personality and Social Psychology, 75(5), 1115-1131.
Hackman, J. R. and Oldham, G. R. (1976). Motivation through design of work.Organizational Behavior and Human Performance, 16(2): 250-279.
Herzberg, F (1964).The motivation-hygiene concept and problems of manpower. Personnel Administrator, 27(January-February), 3-7.
_____ Mausner, B., Snyderman, B. B. (1959). The Motivation to Work, 2nd ed., New York: John Wiley.
Heskett, J. L, Jones, T. O., Loveman, G., Sasser, Jr., W. E., and Schlesinger, L. A. (1994). Putting the service-profit chain to work. Harvard Business Review, 72(2): 164-174.
Higgins, E. T. (1997). Beyond pleasure and pain. American Psychologist, 52(12), 1280-1300.
_____ (1999). When do self-discrepancies have specifc relations to emotions? The second-generation question of Tangney, Niedenthal,
Covert, and Barlow (1998). Journal of Personality and Social Psychology, 77(6): 1313-1317.
_____ Shah,J., and Friedman, R. (1997). Emotional responses to goal attainment: Strength of regulatory focus as moderator. Journal of Personality and Social Psychology, 72(3), 515-525.
Hulin, C. L, and Judeg, T. A. (2003). Job attidues.In W. C. Borman, D. R., Ligen, and R. J. Klimoski (Eds.), Handbook of Psychology: Industrial and Organizational Psychology (p p. 255-276),
Hoboken, NJ: Wiley. Huseman, R., Hatfield, J., and Miles, E. (1987). A new perspective on equity theory: The equity sensitivity construct. Academy of Management Review, 12(2): 232-234.
Lanaj, K., Chang, C., Johnson, R. W. (2012). Regulatory focus and work-related outcomes: A review and meta-analysis, Psychological Bulletin, 138(5): 998-1034.
Locke, E. A. (1976). The nature and causes of job satisfaction.In M. D. Dunnett (Ed.), Handbook of Industrial and Organizational Psychology (pp. 1297-1349).
Chicago: Rand McNally. O’Leary-Kelly, A. M., and Griffin, R. W. (1995).Job satisfaction and organizational commitment. In Niel Brewer and Carlene Wilson (Eds.) Psychology and Policing (pp. 367-389). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates, Inc.
Organ, D. W., Ryan K. (1995).A meta-analytic review of attitudinal and dispositional predictors of organizational citizenship behavior. Personnel Psychology, 48(4): 775-802.
Robbins, S. P., DeCenzo, D. A., and Coulter, M. (2015). Fundamentals of Management Essential Concepts and Applications., 9th ed.
Harlow, Pearson. Rutherford, B., Boles, J., Hamwi, G. A., Aadupalli, R., and Rutherford, L. (2009). The role of the seven dimensions of job satisfaction in salesperson’s attitude and behaviors. Journal of Business Research, 62: 1146-1151.
Saari, L. M., Judge, T. A. (2004). Employee attitudes and job satisfaction. Human Resource Management. 43(4): 395-407.
Schermerhorn, J. R., Bachrach, D. G. (2015). Introduction to Management. International Student Version. 13th .ed., John Wiley & sons, Inc.
Schneider, B. and Bowen, D. E. (1995). Winning the Service Game. Boston, MA: Harvard Business School Press. Spector, P. E. (1997). Job Satisfaction: Application, Assessment, Causes and Consequences.
Thousand Oaks, CA: SAGE. Staw, B. M., Bell, N. E., and Clausen, J. A. (1986). The dispositional approach to job attitudes: A lifetime longitudinal test. Administrative Science quarterly, 31(1): 56-77.
Wegge, J., Schmidt, K., Parkes, C., vanDick, K. (2007).Taking a sickie: Job satisfaction and job involvement as interactive predictors of absenteeism in a public organization. Journal of Occupational and Organizational Psychology, 80: 77-89.