การดูแลสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุไทยและอำนาจในการทำนายภาวะสุขภาพของ ผู้สูงอายุ ด้วยตัวแปรคุณลักษณะส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคมและการดูแลสุขภาพ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากการ สำรวจประชากรผู้สูงอายุ ประจำปี พ.ศ.2554 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 16,058 คน ผลการศึกษา พบว่าภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุไทยอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคมและ การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุร่วมกันทำนายภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุไทยได้ร้อยละ 11.2 ตัวแปรที่สำคัญที่สุด คือ รายได้ โดยพบว่าระดับรายได้เฉลี่ยต่อปีตั้งแต่ 50,000 บาทขึ้นไป สามารถทำนายภาวะสุขภาพผู้สูงอายุได้มากที่สุด โดยมีค่า สัมประสิทธิ์ถดถอยมาตรฐาน (β) เท่ากับ .174 รองลงมาคือการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย มาตรฐาน (β) เท่ากับ .164 การศึกษานี้เสนอแนะว่าภาครัฐควรที่จะคงไว้ซึ่งนโยบายที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและปรับปรุงช่องทางการเข้าถึงสิทธิดังกล่าวให้ครอบคลุมและทั่วถึง รวมทั้งส่งเสริม พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของครอบครัว
Article Details
บทความที่ปรากฏในวารสารนี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ซึ่งสมาคมนักวิจัยไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป การนำเสนอผลงานวิจัยและบทความในวารสารนี้ไปเผยแพร่สามารถกระทำได้ โดยระบุแหล่งอ้างอิงจาก "วารสารสมาคมนักวิจัย"
References
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2554). การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ. นนทบุรี: โรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
ขวัญดาว กล่ำรัตน์และคณะ. (2556). ปัจจัยเชิงสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตภาค ตะวันตกของ ประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาลัยราชภัฏสารคาม, 7,93-104.
นภาภรณ์ หะวานนท์ และธีรวัลย์ วรรธโนทัย. (2552). ทิศทางใหม่ในการพัฒนาการอยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุ ในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.
นวลจันทร์ เครือวาณิชกิจและคณะ. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะ สุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลโคกโคเฒ่า อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพมหานคร: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
บรรลุ ศิริพานิช. (2543). ผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
_____ (2544). คู่มือผู้สูงอายุฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร.สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). วิจัยเบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สุรียาสาส์น.
ประนอม โอทกานนท์. (2554). ชีวิตที่สุขสมบูรณ์ของผู้สูงอายุไทย หลักการงานวิจัยและบทเรียนจากประสบการณ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประเวศ วะสี. (2547). ทฤษฎีใหม่ทางการแพทย์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2553). รายงานประจำปี สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2552. นนทบุรี: เอสเอส พลัส มีเดีย.
_____ (2554). รายงานประจำปี สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2553. นนทบุรี: เอสเอส พลัส มีเดีย.
_____ (2555). รายงานประจำปี สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2554. นนทบุรี: เอสเอส พลัส มีเดีย.
_____ (2556). รายงานประจำปี สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2555. นนทบุรี: เอสเอส พลัส มีเดีย.
รศรินทร์ เกรย์และคณะ. (2556). มโนทัศน์ใหม่ของนิยามผู้สูงอายุ มุมมองเชิงจิตวิทยาสังคมและสุขภาพ. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.
เรวดี สุวรรณนพเก้าและรศรินทร์ เกรย์. (2554). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังประชากร กาญจนบุรี. วารสาร ประชากร, 2, 33-54.
ลัดดา ดำริการเลิศ. (2555). การดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการในชุมชน: ช่วงที่1 สถานการณ์และความต้องการ ดูแลผู้สูง อายุในชุมชน. นครปฐม: สำนักวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนสถาบันพัฒนาสุขภาพ อาเซียนมหาวิทยาลัย มหิดล.
เล็ก สมบัติ. (2549). โครงการภาวการณ์ดูแลผู้สูงอายุของครอบครัวในปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: มิสเตอร์ ก๊อปปี้.
วริศา จันทรังสีวรกุล. (2553). พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุที่สถานสงเคราะห์คนชรา จังหวัด นครสวรรค์. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 4, 12-20.
วิชาญ ชูรัตน์และคณะ. 2555. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะเสี่ยงการมีปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ. วารสารประชากร, 3, 87-109.
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร และคณะ. (2540). การเกื้อหนุนทางสังคมแก่ผู้สูงอายุ พื้นที่การศึกษาภาคกลาง. กรุงเทพมหานคร : กองบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
_____ (2544). การเกื้อหนุนทางสังคมแก่ผู้สูงอายุ: พื้นที่ในการศึกษาเขตภาคใต้. กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2554). สำมะโนประชากร พ.ศ.2553. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
_____ (2556). การทำงานของผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2555. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
อุทัยทิพย์ รักจรรยาบรรณ. (2549). การเกื้อหนุนของครอบครัวต่อผู้สูงอายุไทย: เอกสารการวิจัยในการ ประชุมวิชาการ ประชากรศาสตร์แห่งชาติปี 2549. ค้นวันที่ 1 ธันวาคม, 2557, จาก Thaipopulation เวปไซส์ http://www. thaipopulation.org.
References
Baker.G. (2007). Adolescents social support and help-seeking behavior: an international literature review and programe conclution for action. WHO: Switzerland. Central Texas Sustainability Indicators Project (CTSIP). (2012). 2012 Data Report. Retrived December 6, 2014, from Centex-Indicators Web site: www.centex-indicators.org.
Chantarungsrikul, Warisa. (2010). Health Promoting Behaviors and Health Status of the Elderly in Nakhonsawan Province. Journal of Health Science Reserch, 4 ,12-20. (in Thai).
Choorat, Wichan.et al. (2012). Factors Influencing the Risk of having Mental Health Problems of the Elderly. Thai Population Journal, 3, 87-109. (in Thai).
Cobb.S. (1976). Social support as a moderator of life stress. Psychosomic Medicine, 38, 300-324.
Cohen.S and Syme.S.L. (1985). Social support and health. San Francisco: Academic Press.
_____ and Wills.T.A. (1985). Stress social support and buffering hypothesis. Psychological Bullitin, 98, 310-353.
Department of Health Service Support Ministry of Public Health .(2001). Health Care Intergration of Aging. Nonthaburi: The War Verterans of Thailand. (in Thai).
Department of Health. (2005). Self - care a real choice: Self care support-a practical option. Retrived February 7 , 2014, from Department of Health Web site: http://www.dh.gov.uk/SelfCare/266322.
Department of Medical Service Ministry of Public Health .(2014) .Manual Screening and Assessment of Aging. Bangkok:The War Verterans of Thailand.(in Thai)
Dumrikarnlerd, Ludda. (2012). Aging Care in Community Chapter 1 Situation and Demand of Aging Care in the Community. Nakhon Pathom: ASEAN Institute for Health Development Mahidol University. (in Thai).
Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. (2010). Situation of The Thai Elderly 2009. Nomthaburi: SS Plus Media. (in Thai).
_____ (2011). Situation of The Thai Elderly 2010. Nomthaburi: SS Plus Media. (in Thai).
_____ (2012). Situation of The Thai Elderly 2011. Nomthaburi: SS Plus Media. (in Thai).
Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. (2013). Situation of The Thai Elderly 2012. Nomthaburi: SS Plus Media. (in Thai).
Gray, Rossarin.et al. (2013). New Concept of Older Persons The Psycho-Social and Health Perspective. Nakhon Pathom: Institute for Population and Social Reserch Mahidol Univercity. (in Thai).
Havanon, Napaporn and Wathanotai, Teerawan. (2009). A New Agenda for Developing Houseing for Elderly in Thai Society. Bangkok: Faculty of Architecture Rajamangala University Technology Thanyaburi. (in Thai).
Hubbard. P, Muhlenkamp.A.P and Brown.N. (1984). The relationship between social support and self-care practice. Nursing Research, 33, 266-270.
Klumrat, Khwandao. et al. (2013). Causal Factors of Health Behavior of Elderly in Western Region of Thailand. Journal of Humanities and Social Sciences Mahasarakham University, 7, 93-104. (in Thai).
Kreavavishkit, Nuanchan.et al. (2012). Factors Affecting Health of the Elderly in Khokkotao Subdistrict,Muang District,Suphanburi Province. Bangkok: Faculty of Nursing Suan Dusit Rajabhat University. (in Thai).
National Statistical Office. (2011). Population Cencus 2010. Bangkok: National Statistical Office. (in Thai).
_____ (2013). The Working of Thai Elderly 2012. Bangkok: National Statistical Office. (in Thai). Norris.C.M. (1974). Self-care. America journal of nursing, 74, 486-489.
Orem, E.D. (1985). Nursing: Concept of practice.2rded. NY: Mcgraw hill.
_____ (1991). Nursing: Concept of practice 4thed. St Louis: Mosby-Year book, Inc.
_____ (2001). Nursing: Concept of practice 5thed. St Louis: Mosby-Year book, Inc.
Othaganont, Pranom. (2011). Life of The Aging, Research and Lessons Learned from The Experience. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (In Thai).
Pender J Nola. (1996). Health Promotion in Nursing Practice.3thed. USA: Appleton and Lange.
_____ Carolyn L. , Parsons M and Parsons M. (2011). Health Promotion in Nursing Practice 6thed. New Jersey: Pearson Education Inc.
Rakchanyaban, Uthaithip. (2006). The Social Support of Family for Elderly , Reserch Papers in the Proceeding of the National Population 2549. Retrived December 1 , 2557, from Thaipopulation Web site: http://www.thaipopulation.org. (in Thai).
Schafer.C,Coyne.J.C and Lazarus,R. (1981). The health-related function of social support. Behavior Medicine, 4, 381-406.
Shumaker.S.A and Brownell.A. (1984). Toward a theory of social support: Closing conceptual gaps. Social Issues, 40, 11-36.
Siripanich, Bunlu. (2000). Thai Aging. Bangkok: Thai Health Book Publisher. (in Thai).
_____ (2001). Manual Aging. Bangkok: Thai Health Book Publisher. (in Thai).
Sombat, Lek. (2006). Family’s Care for the older Persons’s Today. Bangkok: Mister Copy. (in Thai).
Srisaard, Boonchom. (2010). Research Methology 8thed. Bangkok: Suriyasarn Publisher. (in Thai).
Suwannoppakao, Rewadee and Gray, Rossarin. (2011). Quality of Life of Older Persons in Khanchanaburi Dermographic Surviellance System. Thai Population Jornal. 2, 33-54. (in Thai).
Thoits.P.A. (1982). Concept methodological and theoretical problem in studying social support as a buffer against lif stress. Health and Social Behavior, 23, 145-159.
United Nations Population Fund. (2012). Ageing in the Twenty-First Century: A Celebration and A Challenge. New York: UNFEA.
Verbrugge.M.L. 1985. Gender and Health: An Update on Hypotheses and Evidence. Health and Socail Behavior. 26, 156-182.
Wasee, Prawase. (2014). A New Theory of Medicine. Bangkok: National Health System Reform Office. (in Thai).
Webber.D, Guo.Z and Mann.S. (2013). Self care in health: We can define it, but should we also measure it. Self care advancing the study understanding of self care, 4, 101-106.
World Health Organization (WHO). (1993). Training on management of human resource for health. Geneva: Publication Part A.
World Health Organization (WHO). (2014). Health Impact Assessment: The Determinants of Health. Retrived December 6, 2014, from WHO Web site: http:// www.who.int/hia/evidence/doh/en/.
Yodphet, Sasipat. (1997). The Social Support for Thai Aging (Central Thailand ). Bangkok: Division of Research Administration Mahidol University. (in Thai).
_____ (2001). The Social Support for Thai Aging (Sounthern Thailand). Bangkok: Facility of Social Administration Thammasat University. (in Thai).