DEVELOPMENT OF AN ELECTRONIC TRAINING CURRICULUM ON RESEARCH FOR LEARNING DEVELOPMENT FOR ELEMENTARY SCIENCE TEACHERS

Main Article Content

ระเบียบ สิทธิชัย
ดร.ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์
ดร.นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์
ว่าที่ร้อยตรี ดร.มนัส บุญประกอบ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรอบรมครูทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สําหรับครูวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยและพัฒนา มี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอน ที่ 1 การศึกษา ความต้องการและเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและสร้างหลักสูตร ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้และหาประสิทธิภาพของหลักสูตร ขั้นตอนที่ 4 การประเมินและปรับปรุงหลักสูตร กลุ่มตัวอย่าง เป็นครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาน่าน เขต 2 ที่มีความ สามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจํานวน 40 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) หลักสูตรอบรมครูทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของครูที่ มีต่อหลักสูตรอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิจัยและการทดสอบสมมติฐาน คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) หลักสูตรอบรมครูทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การวิจัยเพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพ 80.00/80.97 2) ครูมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้จากการทดสอบ หลังการอบรม สูงกว่าก่อนการอบรม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรอบรมอยู่ใน ระดับมาก

Article Details

Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ. (2543). วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา

จรัสศรี รัตตะมาน (2551). “การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมผ่านเว็บ” ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

เฉลิมชัย จารุลักษณ์. (2549). "การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเรื่องวิธีการวิจัยระดับพื้นฐาน หลักสูตรฝึกอบรมนักวิจัยของกระทรวงกลาโหม” วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ดารณี คําแหงและคณะ. (2547). “การพัฒนาซอร์ฟแวร์ออนไลน์สําหรับฝึกอบรมความรู้เกี่ยวกับการวิจัย” รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลนนทบุรี

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-Learning หลักการออกแบบและการสร้างเว็บ เพื่อการเรียนการสอน กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ์

ธนัท อาจสีนาค. (2548). “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ e-leaming กับการสอนปกติ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (หลักสูตรสถาบัน ราชภัฏ พ.ศ.2542)” สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องต้น กรุงเทพมหานคร สุวีริยาสาส์น

พัชรินทร์ จันทร์นาง. (2549). “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายสําหรับฝึกอบรมครู-อาจารย์ เรื่องการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน” โครงงานปัญหาพิเศษหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

พรรณพิมล เพียรรุ่งโรจน์. (2547). “การนําเสนอรูปแบบการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สําหรับครู ประถมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน” วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พิเชษฐ์ จับจิตต์. (2549). “การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนาความเข้มแข็งของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต” ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ

เพชรผ่อง มยูขโชติ. (2549). “ประสิทธิผลหลักสูตรฝึกอบรมครูวิชาชีพผ่านอินเตอร์เน็ต” ปริญญา ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาอาชีวศึกษา ภาควิชาอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ระพีพรรณ เจริญทัศนศิริ. (2545). “การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูภาษาอังกฤษเรื่องการสอนวิชาภาษาอังกฤษโครงงาน ะดับมัธยมศึกษาสําหรับครูในกลุ่มสหวิทยาเขตเมืองสิงห์ จังหวัดกาญจนบุรี” ปริญญานิพนธ์ ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต (การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ) กรุงเทพมหานคร บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร

วรนุช เนตรพิศาลวนิชย์. (2544). “การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมผ่านเว็บด้วยการเรียนแบบร่วมมือแบบกรณีศึกษาเพื่อการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สําหรับวิชาชีพพยาบาลวิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สุเมธ งามกนก. (2549). “การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพิ่มอํานาจในการทํางานเพื่อพัฒนาสมรรถนะของเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน กระทรวงศึกษาธิการ” ดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สุพัตรา ศรีสุวรรณ. (2545). “การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมวิชาชีพแบบสองทาง” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต วิชาเอกเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย. (2548). “การติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ” วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 18(1), 93-124

สมชาย สังข์สี. (2550). “หลักสูตรอบรมการพัฒนามาตรฐานการศึกษาด้านผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สุรสิทธิ์ วรรณไพโรจน์. (2550). การสร้างบทเรียนออนไลน์ผ่านระบบ E-Leaning ค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2553, จาก http://www.uplus-solution.com/content.php?ct_id=33

สมศรี เพชรโชติ. (2550). “การพัฒนากระบวนการฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้านวิชาชีพคหกรรมศาสตร์”ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

Aljadaani, H. A. (2000). A comparison of web-based and conventional based training Methods in a leading Midwestern company. Retrieved June 19, 2010, from http://www/ib.urni.com/Dissertation/preview/AAT9992041.

Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Testing. (3 "c.ed.) New York: Harper and Row.

Taba, H. (1962). Curriculum Development: Theory and Practice. NewYork: Harcourt Brace Jovanovich. Tyler, R. W. (1949) Basic Principles of Curriculum and Instruction.

Chicago University of Chicago Press Yamane, T. (1967). Statistics: An Introductory Analysis. (2nd ed.) New York: Harper and Row.