อิทธิพลภาวะผู้นําการปฏิรูปและการมีส่วนร่วมของนักศึกษาที่ส่ง พลต่อประสิทธิผลของการศึกษาชั้นสูงของกองทัพเรือ

Main Article Content

พีรพัฒน์ วาณิชยชาติ
พิพัฒน์ นนทนาธรณ์

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําการปฏิรูป การมีส่วนร่วมของ นักศึกษา และประสิทธิผลของการศึกษาชั้นสูงของกองทัพเรือ 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นําการปฏิรูป และอิทธิพล ของการมีส่วนร่วมของนักศึกษา ต่อประสิทธิผลของการศึกษาชั้นสูงของกองทัพเรือ ทั้งทางตรงและโดยอ้อม กลุ่มตัวอย่าง เป็น นักศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ หลักสูตรเสนาธิการทหารเรือ หลักสูตรเสนาธิการทหารเรือ (2 ภาษา) หลักสูตรนายทหารอาวุโส หลักสูตรพรรคนาวิน หลักสูตรทั่วไป หลักสูตรเพิ่มวิชา และหลักสูตรพรรคกลิ่น รวมทั้งหมด 400 ชุด 


ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านภาวะผู้นําการปฏิรูป มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษาอยู่ในระดับสูง มากอย่างมีนัยสําคัญทาง ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษามีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการศึกษาชั้นสูงของกองทัพเรือ อยู่ในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ปัจจัยด้านภาวะผู้นําการปฏิรูป มีอิทธิพลทางตรง ต่อประสิทธิผลของการศึกษา ชั้นสูงของกองทัพเรืออยู่ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตามพบว่าปัจจัยด้านภาวะผู้นําการปฏิรูปมี อิทธิพลต่อประสิทธิผลของการศึกษาชั้นสูงของกองทัพเรือทางอ้อมผ่านทางปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษา เท่ากับ (0.511 ซึ่งอยู่ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ และพบว่าร้อยละ 23.5 ของค่าความแปรปรวนในประสิทธิผล ของการศึกษาชั้นสูงของกองทัพเรือ สามารถถูกอธิบายและทํานายโดยปัจจัยภาวะผู้นําการปฏิรูป ทั้งนี้เมื่อรวมค่าสัมประสิทธิ์ ของอิทธิพลทางตรง 0,412 กับอิทธิพลทางอ้อม 0.511 จะได้เท่ากับ 0.953 แสดงให้เห็นว่า เมื่อมองโดยรวมแล้ว ปัจจัย ด้านภาวะผู้นําการปฏิรูป มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการศึกษาชั้นสูงของกองทัพเรือ อยู่ในระดับสูงมากอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติ 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองทัพเรือ (2530), ระเบียบกองทัพเรือ ว่าด้วยการศึกษา พ.ศ. 2530

ฉัตรฤทัย อินทโศภน. (2559) อิทธิพลของภาวะผู้นาการปฏิรูปและจิตสาธารณะ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี ขององค์การใน รด.จิตอาสา, วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(3), 26-98,

พงษ์เทพ จันทสุวรรณ เอกรัตน์ ดวงปัญญา ชาญณรงค์ เศวตาภรณ์และอนงนาฏ ภูมิภักดี. (2555). ภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การ องค์การแห่งการเรียนรู้และประสิทธิผลของหน่วยงานในสถานีตํารวจนครบาลการวิเคราะห์เส้นทาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยเจ้าพระยา, 1, 17-34

พิพัฒน์ นนทนาธรณ์. (2558). ภาวะผู้นําเชิงปฏิบัติการ: LIFE Model. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศูนย์ผู้นําธุรกิจเพื่อสังคม

สุรีญา พรหมมาก. (2554). ภาวะผู้นํากับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา ด้านการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตําบลเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง, วารสารวิทยบริการ. 22(3),30-43.

ศิวพร จันทร์จําเนียร. (2553). การรับรู้และทัศนคติของพนักงานที่มีต่อนโยบายและแนวทางการ แปรรูปรัฐวิสาหกิจของ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิต.

โศภิดา คล้ายหนองสรวง. (2558). การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถุมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา

References
Bass, BM. & Avolio, B J. Improving Organizational Effectiveness Through Transformational leadership.California: Sage, 1997.

Chandasuwan, Pongthep., Doungpanya, Agarat., Sawataporn, Charnarong., & Phoomphakdee, Anongnat. (2012). Transformational leadership, organizational culture, learning organizational and organizational effectiveness of Metropolitan Police Station: Path analysis. Academic Journal Chaopraya University, 1, 17-34. (in Thai).

Chapin, F.S. (1997). Social participation and social intelligence (3'ed). New York: Longman.

Cohen, J.M., & Uphooff, N.T. (1977). Rural development participation: Concept and measures for project design implementation and evolution rural development committee center for international studies. New York: Longman.

Hoy, W.K; Miskel, Cecil G (1991). Education Administration: Theory, Research and Practice. (4th ed). Singapore: Mcgraw-Hill. Hooper, D., J. Coughlan, and M.R. Mullen. 2008. Structural Equation Modeling: Guidelines for Determining
Model Fit. The Electronic Journal of Business Research Methods 6(1): 53 - 60.

Indusobhana, Chatrutai. (2016). The influence of Transformational Leadership and Public Mind on the Organizational Citizenship Behavior of the Volunteer Reserve Forces. Journal of Researcher Association. 21(3), 86-98. (In Thai).

Leech, N.L., K.C. Barrett and G.A. Morgan. 2005. SPSS for Intermediate Statistics: Use and interpretation. 2nd ed. Mahwah, NJ.: Lawrence Erlbaum.

Junjamnian, Siwaporn. (2010). Employees' Perception and Attitude Regarding the Policies and Guideline for Privatization of the Telephone Organization of Thailand. Bangkok: Dhurakijpundij University. (In Thai).

Klainingsuang, Sopida. (2015). The Participative Management of Administrators Affecting to Effectiveness of the School under Roi-et Primary Educational Service Area Office 3. The thesis of the Master's degree, Educational Administration Program, Burapha University. (In Thai).

Mott, P.E. (1972). The Characteristics of Effective Organization. New York: Harper and Row. Newcomb, (1854). Attitude. Retrieved. (ONLINE). : http://www.novabizz.Acel Attitude.htm (October 25, 2009)

Phiphat Nonthanathorn (2015). Operational Leadership: LIFE Model. (2nd ed.). Bangkok: Social Enter price leadership Center. (In Thai).

Prommark, Sutheya. (2011). The Effect Of Leadership On The Participation in Tourism Development of the Khaochaison Tambon Administration Organization, Phattalung Province. Academic Services Journal, Prince of Songkla University. 22(3),30-43. (In Thai).

Royal Thai Navy (1987). Royal Thai Naval education regulation 1987 (in Thai).