ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้เกี่ยวกับกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนในจังหวัดนครราชสีมา

Main Article Content

สมชาติ ดีอุดม
จักเรศ เมตตะธำรงค์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนในจังหวัดนครราชสีมา โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนที่อยู่ในจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิอย่างมีสัดส่วนในแต่ละอำเภอ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และหมุนแกนแบบ Oblique Rotation โดยวิธี Varimax และประมาณค่าตัวแปรด้วยวิธีไลค์ฮู้ดสูงสุด การตรวจสอบความตรงของโมเดล ผลการวิจัยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ KMO มีค่าเท่ากับ 0.939 ค่า Bartlett’s Test of Sphericity มีค่านัยสำคัญเท่ากับ 0.000 แสดงถึงข้อมูลมีความสัมพันธ์กันสามารถนำข้อมูลไปวิเคราะห์องค์ประกอบได้ ผลการวิเคระห์ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) การรับรู้ด้านการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบและเผยแพร่ข้อมูล 2) การรับรู้ด้านการรับส่งข้อมูลและเก็บรักษาข้อมูล 3) การรับรู้ด้านการตัดต่อและการแสดงความคิดเห็น 4) การรับรู้ด้านโฆษณาขายสินค้าและการดูหมิ่นสถาบัน และ 5) การรับรู้ด้านการดัดแปลงและการส่งต่อข้อมูล ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างตามสมมติฐานการวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนในจังหวัดนครราชสีมามีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (ꭓ2=276.377 ค่า ꭓ2/dƒ=1.84ค่าP-value = 0.000 ค่า RMSEA =0.017ค่า CFI =0.999 ค่า SRMR =0.073 และค่า TLI = 0.993)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คณาธิป ทองรวีวงศ์. (2555). มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว: ศึกษากรณ๊การรบกวนสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัวจากการใช้เว็บไซต์เครือข่ายสังคม. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 18(2), 39-51.

ครรชิต มาลัยวงศ์. (2540). ทัศนะไอที. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล. (2545). ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร: ส. เอเชียเพรส.

รังสรรค์ วงษ์บุญหนัก. (2559). การวิเคราะห์กฎหมายที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในกรณ์การโฆษณาที่ฝ่าฝืนกฎหมายผลิตภัณฑ์สุขภาพ. วารสารเภสัชกรรมไทย, 8(1), 217-227.

วิภาวดี ยุติธรรม. (2556). ปัญหาเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เข้ารับการรักษาพยาบาล. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร, 4(2), 71-80.

สายฝน เป้าพะเนา. (2555). การศึกษาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล. Veridian E-Journal, SU, 5(1),541-561.

สุรัสวดี แสนสุข และ พลสิทธิ์ จิระสันติมโน. (2560). ข้อสังเกตเบื้องต้นเกี่ยวกับหมิ่นประมาทและดูหมิ่นในกฎหมายอาญา. วารสารมนุษยศาตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี, 8(ฉบับพิเศษ), 68-94.

องอาจ เทียนหิรัญ. (2546). อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์: การกำหนดฐานความผิดทางอาญาสำหรับการกระทำต่อคอมพิวเตอร์. นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อัครเดช มณีภาค. (2553). ปัญหาทางกฎหมายพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์. วารสารจันทรเกษมสาร, 16(31), 127-145.

อัญชลี วรถาวรวิวัฒน์. (2549). เกร็ดความรู้ Internet Tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 2(ฉบับพิเศษ), 117-122.

Andrew V. B., and Kimberly R. H., (2007). Cyberbullying: What School Administrators (and Parents) Can Do. The Clearing House, 81(1), 8-12.

Diamantopoulos, A. &Siguaw, A. D. (2000). Introducing LISREL: A guide for the uninitiated. London: Sage Publications.

Garrison, K.C. ,&Magoon, R.(1972). Educational psychology. Ohio: Charles E. Morrill Publishing century-crofts.

Hair J. F., Anderson, R. E., Tatham, R. L., & Black, W. C. (1998). Multivariable data analysis (5th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Join O. H. (2011). Anti-Cyber Bullying Statutes: Threat to Student Free Speech. Cleveland State Law Review, 59(85), 88-89

Kaplan, D. (2000). Structural equation modeling. California: Sage Publications.

Kline, R. B. (1998). Principles & Practice of Structural equation modeling. New York: The Guilford Press.

Schiffman, L. G.,&Kanuk, L.L.(2000).Consumer Behavior (7thed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Zorkoezy, P. (1984). Information Technology: An introduction. New York: Van Nostrand Reinhold.

Kajonnan, N., & Kiattikomol, P. (2002). Decision information system. Bangkok: S. Asia Press.[in Thai].

Maneepak, A. (2010). Legal problems of the electronic business transaction Act B.E. 2554 in protecting personal information relating to an electronic transactions. ChandrakasemRajabhat University Journal, 16(31), 127-145.[in Thai].

Maraiwong, K. (1997). Perspective IT. Bangkok: National Science and Technology Development Agency.[in Thai].

Paophanao, S. (2012). The study of information technology and communication competencies for learning of undergraduate students in Rajamagala university of technology RattanakosinWangkraikangwon Campus. Veridian E-Journal, SU, 5(1),541-561.[in Thai].

Saensuk, S.,&Chirasantimano, P. (2017). Primary remarks on the offence of defamation and insult in the criminal code of Thailand. Humanities and Social Sciences Journal, UbonRatchathaniRajabhat University, 8(Special Issue), 68-94.[in Thai].

Theangirun, A. (2003). Computer crime: definition of crime. Master of Laws Program, Faculty of low, Thammasat University.[in Thai].

Thongraweewong, K. (2012). Legal measure for protecting the right to privacy: A study of the invasion of privacy through the use of social network websites. Atheist Journals, 18(2), 39-51.[in Thai].

Voratavarawiwat, A. (2006). Internet trip information technology law. The Journal of Industrial Technology, 2 (Special Issue), 117-122.[in Thai].

Wongboonnak, R. (2016). Analysis of laws regarding information and communication technology on the advertisings violating health products laws. The Journal of Pharmacy Practice, 8(1), 217-227.[in Thai].

Yutitam, V. (2013). Problems relating to the protection of personal data in the medical treatment of patients. Academic Journal PhranakhonRajabhat University, 4(2), 71-ผ80.[in Thai].