การนำหลักธรรมาภิบาลมาบริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้รวมรวมและวิเคราะห์จากการทบทวนวรรณกรรม หนังสือ งานวิจัย บทความวิชาการ บทความวิจัย เกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาบริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ เพื่อรวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น วิเคราะห์เกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาล และการนำเสนอหลักธรรมาภิบาลมาบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นรากฐานในการปกครองตามระบบประชาธิปไตย ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นโดยตรง แต่ด้วยปัญหาในการบริหารงานไม่มีประสิทธิภาพ ไม่สนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น การทุจริตคอรัปชั่น จึงได้นำหลักธรรมาภิบาล ประกอบไปด้วย หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มาใช้แก้ปัญหาด้านบริหารงาน ทุจริตคอรัปชั่น บุคลากร นักการเมืองท้องถิ่น และบริหารงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แนวทางการนำหลักธรรมมาภิบาลไปบริหารองค์กร อาทิ การส่งเสริมการรวมกลุ่มประชาชนและการสร้างประชาคม ส่งเสริมกระบวนการการมีส่วนร่วมทางการเมือง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งข้าราชการประจำและข้าราชการการเมือง เพื่อเสริมสร้างพลังให้แก่ประชาชนและชุมชนในท้องถิ่นและถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเกิดการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนต่อไป
Article Details
บทความที่ปรากฏในวารสารนี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ซึ่งสมาคมนักวิจัยไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป การนำเสนอผลงานวิจัยและบทความในวารสารนี้ไปเผยแพร่สามารถกระทำได้ โดยระบุแหล่งอ้างอิงจาก "วารสารสมาคมนักวิจัย"
References
โกวิทย์ พวงงาม. (2559). การปกครองท้องถิ่นไทย : หลักการและมิติใหม่ในอนาคต. (พิมพ์ครั้งที่ 9).กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วิญญูชน.
โกวิทย์ พวงงาม. (2559). การจัดการปัญหาการทุจริตในองค์กรปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพ : สถาบันพระปกเกล้า.
จิรวรรณ ภักดีบุตรและประกอบ สุทธิกาโมทย์. (2550). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับธรรมาภิบาล. กรุงเทพมหานคร :สำนักงานเลขาธิการ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ.
จรัส สุวรรณเวลา.(2546). จุดบอดบนทางสู่ธรรมาภิบาล: บทบาทของบอร์ดองค์การมหาชน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาญยุทธ พวงกำหยาด.(2560). การนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติของเทศบาลในพื้นที่ภาคกลาง ตอนล่าง 1. วารสารจันทรเกษมสาร, 23(44), 49-63.
ไชยวัฒน์ ค้ำชู, ประทุมพร วัชรเสถียร, กุลลดา เกษบุญชู และศุภมิตร ปิติพัฒน์. (2545). ธรรมาภิบาล : การบริหารการปกครองที่โปร่งใสด้วยจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์น้ำฝน.
นิชาภา เชยะสิทธิ์, วัชระ คำเขียว, พงษ์ศักดิ์ เพชรสถิตย์ .(2561). องค์ประกอบการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล. วารสารพัฒนาสังคม, 21 (2), 196-215.
ธรรศพงศ์ วงษ์สวัสดิ์และเอนก นอบเผือก. (2561). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กาบริหารส่วนตำบลท่านางงาม อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 13 (1), 129-139.
ธันยวัฒน์ รัตนสัค.(2555). การบริหารราชการไทย. เชียงใหม่ : สำนักวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระมหาขวัญชัย กิตติเมธีและพระมหาวีรธิษณ์ วรินโท.(2562). การบูรณาการหลักธรรมาภิบาลเพื่อชีวิตที่ดีในสังคมไทยสมัยปัจจุบัน. วารสาร มจร.พุทธปัญญาปริทรรศน์, 4 (2), 267-284.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ.(2552). การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ, สถาบันพระปกเกล้า. นนทบุรี : สำนักพิมพ์พิมพ์ลักษณ์.
มณฑิรา มีรสและสุเนตร สุวรรณละออง. (2559). รูปแบบการประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการ บริหารงานองค์การบริหารส่วนจังหวัด : กรณีศึกษา จังหวัดปราจีนบุรี. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 24 (44), 105-120.
รมณีย์ วงษา. (2559). สภาพและปัญหาการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาธิบาลของพนักงานส่วนตำบลองค์กรบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 3 (1), 17-24.
วรชัย สิงหฤกษ์ และประสพชัย พสุนนท์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการของชุมชนสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 14 (1), 67-76.
วิไลลักษณ์ อำนาจดีและศศิรดา แพงไทย. (2562). กลยุทธ์การบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต20, วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6 (8), 4106-4118.
สมคิด เลิศไพฑูรย์.(2543). การกระจายอำนาจตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการ กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542. กรุงเทพ : ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุวิดา แสงประดับ (2557). การบริหารองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 9 (1), 3-9.
สุเมธ แสงนิ่มนวล.(2552). ภาวะผู้นำกับธรรมาภิบาลในการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า. กรุงเทพ : ส เจริญการพิมพ์.
สิริกาญจน์ เอี่ยมอาจหาญ. (2554). การนำนโยบายธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปราจีนบุรี. ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
สะพรั่ง สุขเวชชวรกิจ.(2561). ธรรมาภิบาลในการเมืองท้องถิ่นของไทย. วารสารรัชต์ภาคย์, 12(26), 42-65.
อรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน สำหรับนักบริหารท้องถิ่น. วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า. สำนักพิมพ์พิมพ์ลักษณ์ : กรุงเทพฯ.
อาภิสญา กุลบุญญาและนลินี ทองประเสริฐ. (2559). หลักธรรมาภิบาลกับมาตรฐานการปฏิบัติ ราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์,11 (1), 298-308.
เอกชัย เครืออินต๊ะ. (2560). รูปแบบการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษาอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง, รายงานสืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17, 1527 -1535.
King Prajadhipok's Institute. (2006). Good Governance Indicators. Bangkok: King Prajadhipok's Institute.
Nakata, T. (2008). Political Science: Concepts, Concepts, Critical Issues, and Guidelines for Political Analysis. Bangkok: Companion Blog and Printing.
Yeemah, M. (2012). Local Government in Thailand. (2nd edition) Bangkok: Chulalongkorn University Press.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2563). สรุปข้อมูล อปท.ทั่วประเทศ สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2563 จากเว็ปไซต์ http://www.dla.go.th/work/abt/
ตระกูล มีชัย. (2005). รายงานฉบับสมบูรณ์การศึกษารวบรวมข้อมูลทางด้านการเมืองการปกครองไทย เรื่องการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่น. สถาบันวิชาการเสนอสถาบันพระปกเกล้า สืบค้นข้อมูล เมื่อวันที่2 พฤษภาคม 2563 จากเว็ปไซต์ http://pws.npru.ac.th/chanokchone/data/files/ การเมืองการปกครองท้องถิ่น.pdf
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.(2534). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2563 จากเว็ปไซด์https://www.etda.or.th/content_files/19/files/7.State%20Administration%20Act-2534.pdf
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี. (2542). สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2563 จากเว็ปไซด์ http://www.dmr.go.th/download/10.pdf
Translated Thai Reference
Ammaddee, W., & Pangthai, S. (2019). Strategic Management by Using of Good Governance Principles of Schools under the Office of Secondary Educational Service Areas, Region 20. Journal of MCU Nakhondhat. Vol.6 (8), 4106-4118. (in Thai)
Cheyasit, N., Kamkiew, W., & Phetsatit, P. (2019). The Components of Administration in Accordance with Good Governance of the Department of Groundwater Resources, Journal of Social Development, Vol.21 (2), 196-215. (in Thai)
Hoyyeepu, K. (2013). Personnel’s Duty Performance with Good Governance in Local Administrative Organization in Buddhamonthon District, Nakhonpathom Province, Thesis of Master of Political Science, Faculty of Social Science, Mahamakut Buddhist University. (in Thai)
Khamchoo, C., Wacharasathen, P., Kedbunchoo, K., & Pitipat, S. (2002). Good Governance. Bangkok: Numfon Press. (in Thai)
King Prajadhipok's Institute. (2006). Good Governance Indicators. Bangkok: King Prajadhipok's Institute:
Kreainta, E. (2017). The Study of Good Governance of Local Government Organizations Case Study: Maeta District Lampang. The 17th Graduate Studies of Northern Rajabhat University Network Conference(Proceeding), 1527-1535. (in Thai)
Kokpol, O. (2009). Partner, Manual of People’s Participation for Local Administrator. The College of Local Government Development. King Prajadhipok’s Institute. Bangkok: Pimluck Press. (in Thai)
Kulbunya, A., & Thongpraserd, N. (2016). Good Governance and Performances in Accordance with the Organization Performance Standards of Local Administrative Organization in Ubon Ratchathani Province. Academic Journal Uttraradit Rajabhat University. Vol.11(1). 298-308. (in Thai)
Lamardharn, S. (2011). Implementation of The Good Governance Policy in Local Administrative Organization: A Case Analysis of Maung District, Prachin Buri Province. Doctor of Philosophy in Public Administration, Graduate College of Management, Sripatum University. (in Thai)
Lertpaitoon, S. (2000). Determining Plan and Process of Decentralization Act for Local Government (BE.2542). Bangkok: Thammasart University. (in Thai)
Meeros M, and Suwanlaong S. (2016). The Patterns of the Application of Good Governance in the Management of the Provincial Administrative Organization: A Case Study of Prachinburi Province. Academic Journal of Humanities of Social Sciences Burapha University. Vol.24(44), 105-120.
Nakata, T. (2008). Political Science: Concepts, Concepts, Critical Issues, and Guidelines for Political Analysis. Bangkok: Companion Blog and Printing.
Pakdeebut, J., & Suddhikamod, P. (2007). Knowledge of Good Government. Bangkok: Office of the National Security Council : (in Thai)
Pharmacia Khwanchai Kittimethi, and Pharamaha Weeratis Warinto, (2019). The Integration of Good Governance to the Good Life in Thailand’s Current Society. Journal of MCU Buddhapanya Review. Vol.4 (2). 267-284. (in Thai)
Phuangkamyad, C. (2017). Policy Implementation in Accordance with Good Governance Principles of Municipalities in Lower Central Provinces 1. Journal of Chandrakasemsarn. Vol.23 (44), 49-63. (in Thai)
Puang-Ngam, K. (2016). Thai Local Government: Principles and Future Aspects, (9th edition). Bangkok: Winyuchon. (in Thai)
Puang-Ngam, K. (2016). Coping with the Problem of Corruption in Local Government Agencies. Bangkok: King Prajadhipok’s Institute. (in Thai)
Rattanasak, T. (2012). Thai Public Administration. Chiang Mai: Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai Universit: (in Thai)
Sangnimnuan, S. (2009). Leadership and Good Governance in Local Administrative. The College of Local Government Development. King Prajadhipok’s Institute. Bangkok: S. Chareon Press. (in Thai)
Sangpradub, S. (2014). Administrative Organization with Good Governance A case Study: Muang Betong Municipality, Betong District, Yala Province. Journal of Yala Rajabhat University, Vol.9 (1). 3-9. (in Thai)
Singharerk, W., & Pasunon, P. (2016). Factors Affecting Good Governance Implementation in the Federation of Savings and Credit Cooperatives of Thailand Limited. Modern Management Journal. Vol.14 (1). 67-76. (in Thai)
Sukwatchavorakit, S. (2018). Good Governance in Thai Local Politics. Raja park Journal, Vol.12(26), 42-65. (in Thai)
Suwanwela, C. (2003). The weakness of the Way to Good Governance: The Role of Public Organization Board, Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)
Uwanno, B. (2552). Public Policy Process in People’s Participation. King Prajadhipok’s Institute. Nontaburi: Pimluck Press. (in Thai)
Wongsa, R. (2016). The Condition and Problems of Good Governance Implementation of Officials of Sub-District Administration Organization in Amphur Pharanakhon Si Ayutthaya, Phranakhon Si Ayutthaya Province. ARU Research Journal, Vol.3 (1), 17-24. (in Thai)
Wongsawad, T., & Nobpheuk, A. (2018). Administration According to Good Governance of Tha Nang Ngam Subdistrict Administrative Organization Bang Rakum District, Phitsanulok Province. Journal of Yala Rajabhat University. Vol 13 (1), 129-139. (in Thai)
Yeemah, M. (2012). Local Government in Thailand. (2nd edition). Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Website
Department of Local Government. (2020). Local Administrative Organization Information. Retrieved May 2nd, 2020 from http://www.dla.go.th/work/abt/
Meechai Trakoon. (2003). Thai Politics and Government: Local Government. King Prajadhipok's Institute. Retrieved May 2nd, 2020 from http://pws.npru.ac.th/chanokchone/data/files/การเมืองการปกครองท้องถิ่น.pdf
State Administration Act, B.E.2534, Retrieve May 2nd, 2020 from https://www.etda.or.th/content_files/19/files/7.State%20Administration%20Act-2534.pdf
Office of the Prime Minister, Office of the Prime Minister’s Regulation of the Prime Minister on Good Governance. (B.E.2542) Retrieved May 2nd, 2020 from http://www.dmr.go.th/download/10.pdf