รูปแบบการส่งเสริมศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติจังหวัดระนอง

Main Article Content

รักพงษ์ ขอลือ
เสรี วงษ์มณฑา
ชวลีย์ ณ ถลาง
ผกามาศ ชัยรัตน์

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง รูปแบบการส่งเสริมศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติจังหวัดระนอง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทรัพยากรการท่องเที่ยวของจังหวัดระนอง 2) เพื่อเป็นแนวทางการส่งเสริมศักยภาพการท่องเที่ยวของจังหวัด การศึกษาการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 25 คน พบว่า ทรัพยากรการท่องเที่ยวของจังหวัดระนอง มีความพร้อมและศักยภาพในการท่องเที่ยวที่หลากหลายและยังเปิดโอกาสให้ผู้มาเยือนได้เรียนรู้ นอกเหนือจากนั้นยังสามารถสัมผัสวิถีชีวิต วัฒนธรรมชุมชน จังหวัดระนองมีความอุดมสมบูรณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นทั้ง ทะเล ภูเขา น้ำตก มีแหล่งดำน้ำซึ่งเป็นที่รู้จักในหมู่นักท่องเที่ยว และจังหวัดระนองนั้นยังมีแหล่งน้ำแร่ร้อนธรรมชาติอยู่ในหลายพื้นที่ของจังหวัด ผลจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยนำผลที่ได้มาวิเคราะห์สรุป รูปแบบการส่งเสริมศักยภาพการท่องเที่ยวของจังหวัดระนอง ได้ 3 ด้านดังนี้ 1) ด้านส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบ โลจิสติกส์ และการคมนาคมขนส่ง 2) ด้านการประชาสัมพันธ์และการบอกต่อเรื่องราวการท่องเที่ยว ให้ครอบคลุมและทั่วถึงทุกช่องทาง และ 3) ด้านศักยภาพกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวจังหวัดระนองพัฒนารูปแบบการให้บริการ และมีมาตรฐานการให้บริการเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จุฑารัตน์ เจือจิ้น. (2555). แนวทางการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม บ้านน้ำเชี่ยว จังหวัดตราด. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. มหาวิทยาลัยศิลปกร, กรุงเทพฯ.

ฉันทัช วรรณถนอม. (2552). อุตสาหกรรมท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: สามลดา.

ชุติกาญจน์ กันทะอู. 2560. การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นฐาน : กรณีศึกษา บ้านร่องฟอง ตำบลร่องฟอง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ณัฐรินทร์ ปริวงศ์กุลธร. (2562). แนวทางการส่งเสริมศักยภาพทางการท่องเที่ยวของจังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. มหาวิทยาลัยพะเยา, พะเยา.

เดวิด สโคว์ซิลล์. 2561. World Travel and Tourism Council: WTTC ไทยติดโผล่ชาติท่องเที่ยวโตเร็วที่สุดในโลก สืบค้นเมื่อ 7 ธันวาคม 2562, จาก http://www.bangkokbiznews.com /news/detail/747014

นิศา ชัชกุล. (2555). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปัญจวรรณ อ่อนหวาน. (2559). อุตสาหกรรมท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ปิยะพร ศรีสมุทร. (2558). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวชายแดนแม่สาย - ท่าขี้เหล็ก อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

พงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์. (2561). กระทรวงท่องเที่ยว ร่วมมือ อพท. ยกชั้นเมืองรองสร้างรายได้กว่าหมื่นล้าน. สืบค้นเมื่อ 7 ธันวาคม 2562 จาก http://www.khaosod.co.th/economics/news_741622

วีระพล ทองมา วินิตรา ลีละพัฒนา และนวนจันทร์ ทองมา. (2554). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนของชุมชนชาวจีนในพื่นที่ลุ่มน้ำแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ (รายงานผลการวิจัย). มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.

เสรี วงษ์มณฑา. (2542). กลยุทธ์การตลาด การวางแผนการตลาด. กรุงเทพฯ: ธีระพิมพ์และไซแท็กซ์.

เสรี วงษ์มณฑา. (2547). ครบเครื่องเรื่องสื่อสารการตลาด. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

โสรัจจะ ชมจำปี. (2561). นโยบายผลักดันนักท่องเที่ยวเดินทางจากเมืองหลักสู่เมืองรอง. สืบค้นเมื่อ 7 ธันวาคม 2562, จาก http://thainews.prd.go.th/th/news/print_news/WNRPT610910001 0001

Buhalis, D. (2000). Marketing the competitive destination in the future. Tourism Management Vol. 21 No.1. pp. 97-116.

Mill, R. C. (1990). Tourism the international business. New Jersey: Prentice-Hall. case study of Koh Pha-Ngan. UK: Liverpool John Moores University.

Translated Thai Reference

Chanthach Wannathanom. (2009). Travel industry. Bangkok: Sam Lada. (in Thai).

Chutikan Kanta-U. (2017). Community-Based Tourism: A Case Study of Ban Rong Phong, Rong Phong Sub-district, Muang Phrae District, Phrae Province. Thesis. M.A. Chulalongkorn University, Bangkok. (in Thai).

David Scowsill. (2018). World Travel and Tourism Council: WTTC Thailand is the fastest growing country in the world. Retrieved 7 December 2019, from http://www.bangkokbiznews. com/news/detail/747014: (in Thai).

Jutharat Chuajin. (2012). Guidelines for cultural tourism management Ban Nam Chiao, Trat Province. Thesis. M.A. Silpakorn University, Bangkok. (in Thai).

Nattharin Pariwongkulthorn. (2019). Guidelines for promoting the tourism potential of Samut Sakhon Province. Thesis. Ph.D. University of Phayao, Phayao. (in Thai).

Nisa Chatchakul. (2012). Tourism Industry (4th edition). Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai).

Panchawan Onwan. (2016). Travel industry. Bangkok: SE-ED UCATION. (in Thai).

Pongpanu Svetarun (2018). Ministry of Tourism and DASTA cooperation to raise the secondary city level, generating more than ten billion. Retrieved 7 December 2019 from http://www.khaosod.co.th/

economics/news_741622: (in Thai).

Piyaporn Srisamut. (2015). Guidelines for tourism development on the Mae Sai-Tachileik border, Mae Sai District, Chiang Rai Province Thesis. M.A. National Institute of Development Administration, Bangkok. (in Thai).

Seri Wongmontha. (1999). Marketing Strategy Marketing planning. Bangkok: Teerapim and Cytax. (in Thai).

Seri Wongmontha. (2004). Complete Marketing Communication Tools. Bangkok: Thammasarn. (in Thai).

Soratja Chomjampi (2018). Policy to drive tourists from main cities to secondary cities. Retrieved 7 December 2019, from http://thainews.prd.go.th/th/news/print_news/ WNRPT6109100010001: (in Thai).

Weeraphon Thongma, Winitra Leelapattana, and Nuanchan Thongma. (2011). Cultural Tourism development. Sustainable development of the Chinese community in Mae Ngon River Basin, Fang District, Chiang Mai Province (Research Report). Mae Jo University, Chiang Mai. (in Thai).