ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจท่องเที่ยวเชิงนิเวศตามแนวเส้นทางท่องเที่ยวอุทยานธรณีโคราช อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา

Main Article Content

พวงพรภัสสร์ วิริยะ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษาพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว และ2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจท่องเที่ยวเชิงนิเวศตามแนวเส้นทางท่องเที่ยวโคราชจีโอพาร์ค โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวอายุ 20 ปีขึ้นไป ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก จำนวน 494 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามอย่างมีโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์สมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1. การท่องเที่ยวตามแนวเส้นทางท่องเที่ยวโคราชจีโอพาร์ค มีศักยภาพการท่องเที่ยวครบทั้ง 8 ด้าน โดยด้านแหล่งท่องเที่ยวมีความสำคัญและโดดเด่นมาก เนื่องจากพื้นที่มีความหลากหลายของแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างเดินทางมาท่องเที่ยวมากกว่า 1 ครั้ง โดยเดินทางมาเพื่อท่องเที่ยว / พักผ่อน เนื่องด้วยความเป็นเอกลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจท่องเที่ยวเชิงนิเวศตามแนวเส้นทางท่องเที่ยวโคราชจีโอพาร์ค  ได้แก่ ภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว (Path Coefficient = 0.64) และความพึงพอใจ (Path Coefficient = 0.38) มีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการท่องเที่ยว และภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว (Path Coefficient = 0.54) มีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการท่องเที่ยว โดยตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัดส่วนความแปรปรวนที่อธิบายได้ด้วยองค์ประกอบ (R2) ภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวและความพึงพอใจที่ส่งผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการท่องเที่ยวได้ร้อยละ 65 อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกศมณี เหลืองฐิติกาญจนา. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวประเทศไต้หวันของนักท่องเที่ยวชาวไทย (เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: กรุงเทพมหานคร.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2549) การวิเคราะห์ทางสถิติ : สถิติเพื่อการตัดสินใจ. กรุงเทพมฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เทิดชาย ช่วยบำรุง . (2553). การจัดทำเอกสารเผยแพร่งานวิจัยด้านการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

ประเทือง จินตสกุล. (2561). โคราชจีโอพาร์ค สู่จีโอพาร์คโลกยูเนสโก. กองธรณีวิทยา. ส่วนอนุรักษ์แหล่งธรณีวิทยาและจัดตั้งอุทยานธรณี กรมทรัพยากรธรณี

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา, และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2554). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทาง สังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ :เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. พิมพ์ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

สายทิพย์ บัวเผือก. (2550). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวไทยที่มีต่อแหล่งท่องเที่ยวเกาะเกร็ดจังหวัดนนทบุรี. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). รายงานจำนวนนักท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา ปี 2563. นครราชสีมา. สืบค้น 15 กรกฎาคม 2563, จาก http://nakhonratchasima.mots.go.th

สำนักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา. (2558). รายงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2558. นครราชสีมา. สืบค้น สืบค้น 15 กรกฎาคม 2563, จาก http://nkrat.nso.go.th/

ศูนย์วิจัยกสิกร. (2560). สถานการณ์การท่องเที่ยวประเทศไทย. สืบค้น 12 มีนาคม 2564, จากhttps://kasikornresearch.com/

ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2560). สถานการณ์ท่องเที่ยวระหว่างประเทศ. สืบค้น 12 มีนาคม 2564, จาก www.tourismthailand.org/tatic.

Alegre, J., Cladera, M. (2009). “Analyzing the effect of satisfaction and previous visits on tourist intentions to return”, European Journal of Marketing, 43(5/6): 670-685.

Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques (3rd Edition). New York: John Wiley & Sons.

Dickman, S. (1996). Tourism: An Introductory Text, 2nd ed., Australia: Hodder Education.

Fishbein, M., & Ajzen, I. (1975). Belief, attitude, intention and behavior: An Introduction to Theory and Research. Philippines: Addison-Wesley.

Hughes, A. M. (1995). “Making a database pay off using recency, frequency, and monetary analysis”, Journal of Database Marketing: 3(1), 77–89.

Kotler, P., & Keller, K. L. (2009). A Framework for Marketing Management. (4th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2010). Principle of Marketing (13th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Gronroos, C. (1984). “Service quality model and its marketing implications”, European Journal of Marketing, 18(4): 36-44.

Middleton, V.T.C. (1994). Marketing in Travel Tourism. Oxford: Butterworth Heineman.

Parasuraman, A., Zeithaml, V.A., Berry, L.L. (1985). “A conceptual model of services quality and its implication for future research”, Journal of Marketing, 49(4): 41-50.

Pike, S. (2004). Destination Marketing Organizations. Oxford: ELSEVIER Ltd.

Prayag, G. (2009). “Tourists' evaluations of destination image, satisfaction, and future behavioral intentions--The case of Mauritius”, Journal of Travel & Tourism Marketing, 26: 836-853.

Schumacher, R. & Lomax, R. (1996). A Beginner’s Guide to Structural Equation Modeling. Mahwah, New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates: Inc.

Zeithaml, V.A., & Bitner, M.J., Gremler, D.D. (2009). Service Marketing: Integrating Cu

Translated Thai References

Angsuchot, S., Wichitwanna, S., & Pinyopanuwat, R. (2011). Statistical analysis for clinical research. Social and Behavioral Sciences: Techniques for using LISREL. Third edition, revised edition. Bangkok: prosperous and stable printing. (In Thai)

Buapueak, Saithip. (2007). Behavior and Satisfaction of Thai Tourists toward Tourist Attraction in Koh Kret, Nonthaburi Province. Master of Business Administration Department of Marketing. Graduate school Srinakharinwirot University. (In Thai)

Choibamroong, Therdchai. (2007). Annual of international Thai Tourism journal 2007. Bangkok: Research Fund Office. (In Thai)

Jintasakul. Pratuang. (2018). Korat Geopark To the UNESCO World Geopark. Geology Division. Conservation of geological resources and establishment of a geopark Department of Mineral Resources. (In Thai)

Kasikorn Research Center. (2017). Thailand tourism situation. Retrieved March 12, 2021, from https://kasikornresearch.com/ (In Thai)

Lueangthitikanjana, Ketmanee. (2016). Factors affecting the decision of traveling to Taiwan among Thai tourists. (Master of Economics Business Economics). Thammasat University: Bangkok. (In Thai)

Nakhon Ratchasima Provincial Statistical Office. (2015). Nakhon Ratchasima Provincial Statistics Report 2015. Nakhon Ratchasima. (In Thai)

Office of Tourism and Sports. (2020). Report on the number of tourists in Nakhon Ratchasima Province, year 2563. Nakhon Ratchas ima. Retrieved July 15, 2020, from http://nakhonratchasima.mots.go.th (In Thai)

Silcharu, Thanin. (2012). Research and Statistical Analysis with SPSS. 11th edition. Bangkok: Business R&D. (In Thai)

Tourism Market Research Center Tourism Authority of Thailand. (2017). Situation of international tourism. Retrieved March 12, 2021, from www.tourismthailand.org/tatic. (In Thai)

Wanichbancha, Kanraya. (2006) Statistical analysis: Statistics for decision making. Bangkok University: Chulalongkorn University. (In Thai)