หลักพุทธธรรมกับการพัฒนาภาวะผู้นำของเยาวชนในกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
หลักพุทธธรรม, การพัฒนาภาวะผู้นำ, เยาวชนบทคัดย่อ
ภาวะผู้นำถือว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่งในการบริหารงานให้ประสบผลสำเร็จ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาองค์กรให้ก้าวหน้า ควรเริ่มต้นที่การสร้างภาวะผู้นำให้เกิดกับผู้บริหารในฐานะที่เป็นผู้นำองค์กร จะต้องสร้างความร่วมมือร่วมใจในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ภาวะผู้นำไม่ได้เกิดจากพรสวรรค์ แต่เกิดจากการพัฒนาตนเองให้เกิดการเรียนรู้ เตรียมความพร้อมเพื่อนำไปใช้ให้ถูกต้องตามหน้าที่ จึงจำเป็นต้องมีเทคนิคสำคัญเพื่อนำไปพัฒนากระบวนการต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เรียนรู้หรือฝึกฝนตนเองจนสามารถนำไปสู่การพัฒนาเพื่อให้พ้นจากปัญหา หรือบรรลุจุดมุ่งหมาย โดยการน้อมนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาภาวะผู้นำของเยาวชนโดยการดำเนินงานของชุมชนในกรุงเทพมหานครตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ความเป็นคนดีที่สมบูรณ์นึกถึงประโยชน์ของส่วนร่วมในชุมชนเป็นหลักสร้างสรรค์ด้วยความรู้บริหารงบประมาณที่คุ้มค่าแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทันต่อเหตุการณ์และให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชนในด้านคุณธรรมตลอดจนสามารถบริการให้ความช่วยเหลือได้ตรงตามความต้องการและมีประสิทธิผลอย่างยั่งยืนสืบไป
References
กาญจนา แก้วเทพ. (2541). สื่อสารมวลชน: ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
กิ่งแก้ว ศรีสาลีกุลรัตน์. (2555). การพัฒนาองค์กร. สืบค้น 1 มกราคม 2565, จาก https://www.gotoknow.org.
ชัชวาลย์ มากสินธ์. (2555). การพัฒนาชนบท. จันทบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2546). กล้าเปลี่ยนแปลงก้าวกระโดดข้ามสิ่งที่เป็นอยู่สูงสิ่งที่ต้องการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.
ธีรวลัย ศิลารัตน์. (2549). สารสนเทศเพื่อการศึกษาและค้นคว้า. จันทบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
พระธรรมปิฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต). (2550). ภาวะผู้นำ. สืบค้น 1 มกราคม 2565, จาก https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/state_of_leadership.pdf
สุพานี สฤษฏ์วานิช. (2550). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Richard,E. B. (2008). Competencies in the 21st Century. Journal of Management Development, (27), 5–12.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น