ภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม: กระบวนการขับเคลื่อนองค์กรไป สู่เป้าหมายอย่างยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • อวยชัย รางชัยกุล บริษัท ล็อกซเล่ย์ เทรดดิ้ง จำกัด

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม, กระบวนการ, การขับเคลื่อน, องค์กร, เป้าหมาย, ยั่งยืน

บทคัดย่อ

การขับเคลื่อนในด้านของยุทธศาสตร์การบริหารงานเพื่อให้เกิดการพัฒนา และเพื่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าในมิติต่าง ๆ โดย ภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม ที่มีกระบวนการขับเคลื่อนองค์กรเพื่อไปสู่เป้าหมายอย่างยั่งยืน ซึ่งต้องเป็นบุคคลที่มีกระบวนการคิด มีความรู้ มีกลยุทธ์และเป้าหมายที่สำคัญ และอีกประการ คือ “คุณธรรม” ต้องเป็นผู้ที่การบริหารจัดการองค์กรเพื่อให้เกิดความโปร่งใส ต้องมีเมตตาต่อเพื่อนร่วมงาน รู้จักการบริหารองค์กรอย่างมีมโนธรรม โดยบุคคลที่มีภาวะผู้นำ ต้องเข้าใจเพื่อนร่วมงาน ไม่เอาเปรียบผู้ใต้บังคับบัญชา ใช้การร่วมมือมากกว่าการ “แข่งขัน” เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ต้องมีการบริหารจัดการในรูปแบบ ทั้ง 4 ประการ คือ 1. มีการบริหารจัดการองค์กรด้วยความซื่อสัตย์ 2. มีการจัดการกลยุทธ์อย่างสร้างสรรค์ 3. มีวิสัยทัศน์และการวางแผนที่สัมพันธ์ 4. มีเป้าหมายที่สอดรับกันอย่างสมบูรณ์ โดยทั้ง 4 ประการนี้เป็นกระบวนการเพื่อนำไปสู่การขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายอย่างยั่งยืน

References

จริยา บุณยะประภัศร. (2552). การขับเคลื่อนองค์กรสู่เป้าหมาย. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://management2008.wordpress.com/2009/06/28/การขับเคลื่อนองค์กรสู่/

จ๊อบดีบี. (2564). บันได 5 ขั้น สู่ความผูกพันระหว่างพนักงานและองค์กร. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://th.jobsdb.com/th-th/cms/employer/ผูกพันพนักงานและองค์กร/

ชัยธวัช เนียมศิริ. (2561). ภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพในยุค Thailand 4.0 : กรณีศึกษา จังหวัดขอนแก่น (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

ซิกน่า. (2563). ภาวะผู้นำ 7 อย่าง แบบไหนบ้าง? ที่ลูกน้องมองหาจากหัวหน้า. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.cigna.co.th/health-wellness/well-at-work/leadership-followers-want

ธเนตร์ตรี รัตนเรืองยศ. (2564). Leadership หรือภาวะผู้นำคืออะไร. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://thaiwinner.com/what-is-leadership/

ธเนตร์ตรี รัตนเรืองยศ. (2564). วิสัยทัศน์ (Vision) คืออะไร? แตกต่างจากพันธกิจ (Mission) อย่างไร. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://thaiwinner.com/what-is-mission/

นพดล เจริญทรัพยานันต์. (2562). เป้าหมายจุดเริ่มต้นของความสำเร็จ. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.toward-goal.com/contents/เป้าหมาย-goal-คืออะไร/

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2546). การจัดการสมัยใหม่ : Modern Management (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เซ็นทรัลเอ็กซ์เพรส.

พยอม วงศ์สารศรี. (2534). องค์การและการจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สุภาการพิมพ์.

พิริยาภรณ์ อันทอง และศุภกร เอกชัยไพบูลย์. (2559). Checklist พิชิตธุรกิจยั่งยืน เครื่องมือการขับเคลื่อนองค์กรสู่ความยั่งยืน สำหรับธุรกิจที่เพิ่งเริ่มต้นพัฒนาความยั่งยืนในองค์กร. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาความรับผิดชอบต่อสังคม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

โพสทูเดย์. (2563). กลยุทธ์การฟัง พลังขับเคลื่อนองค์กร. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.posttoday.com/life/work-life-balance/631352ล

มั่งคั่งไทย. (2564). กระบวนการขับเคลื่อนธุรกิจสู่ความยั่งยืน (Sustainability). สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.wealthythai.com/en/updates/sustainability/1975

ศิริธร พิมพ์ฝด. (2555). ภาวะผู้นำ. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.gotoknow.org/posts/320948

ศุภจี สุธรรมพันธุ์. (2560). ปัจจัยหลัก 3 ประการในการขับเคลื่อนองค์กรไปข้างหน้า. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.tma.or.th/2016/news_detail.php?id=239

ศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้. (2563). ภาวะผู้นำไม่ใช่เรื่องของตำแหน่ง. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.seasiacenter.com/th/insights/leadership-isnt-about-job-position/

สารานุกรมเสรี. (2564). กลยุทธ์. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/กลยุทธ์/

สารานุกรมเสรี. (2564). คุณธรรม. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/คุณธรรม

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2564). ขับเคลื่อนองค์กรสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.onep.go.th/ขับเคลื่อนองค์กรสู่การ/

สุภาวดี จิตติรัตนกุล. (2550). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของนายกเทศมนตรีกรณีศึกษา : เทศบาลเมืองพังงา อำเภอเมือง จังหวัดพังงา (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุวรรณ แสงดาว. (2559). คุณธรรม 9 ประการ. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://sites.google.com/site/suwanaccess/khu

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านลำนาว. (2560). คุณธรรม จริยธรรมในการทำงาน. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.banlamnow.go.th/news/doc_download/a_120618_133944.pdf

อนันตชัย ยูรประถม. (2559). เอกสารประกอบการพัฒนาหลักสูตรการบริหารความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (CSR for Corporate Sustainability). กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาความรับผิดชอบต่อสังคม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

อนันท์ งามสะอาด. (2561). ภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม (Ethical leadership). สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://www.facebook.com/TTECH.BDI/posts/1572049492881517/

อัลลิปรีญา เหล็กพิมาย. (2558). ความหมายของภาวะผู้นำและทฤษฎีภาวะผู้นำ. เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/aunripreya456/1-khwam-hmay-khxng-phawa-phuna

Draft, R. L. (2003). Management (6th ed.). Australia: Thomson South – Western.

HR NOTE. Asia. (2562). ก้าวสู่การเป็นผู้นำที่ดีอย่าง อย่างที่ทุกองค์กรต้องการ. สืบค้น 27 มีนาคม 2565, จาก https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190605-leadership/

Mitchell, T. R., & Larson, J. R. (1987). People in Organizations: An Introduction to Organization Behavior (3rd ed.). New York: McGraw-Hill

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-24

How to Cite