การใช้หลักการกุญแจเก้าดอก ของสถาบันพลังจิต ธรรมะ จักรวาล เพื่อสร้างภาวะผู้นำในยุควิถีใหม่

ผู้แต่ง

  • รักยิ่ง โรจนเกตุปัญญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

กุญแจเก้าดอก, สถาบันพลังจิต ธรรมะ จักรวาล, ภาวะผู้นำ, วิถีใหม่

บทคัดย่อ

การใช้หลักการกุญแจเก้าดอก เพื่อสร้างภาวะผู้นำในยุควิถีใหม่ (New Normal) เป็นการพัฒนาภาวะผู้นำในมิติด้านพฤติกรรม ปัญญา จิตใจและสังคม ผู้นำต้องมีทักษะในการบริหารจัดการองค์กรให้เหมาะสมกับสภาพสังคมและภาวะวิกฤติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจึงต้องอาศัยภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพด้วยการสร้างผู้นำให้แข็งแกร่งในทุกด้าน ภาวะผู้นำในยุควิถีใหม่ ควรมีพื้นฐานอันประกอบด้วย 1) ด้านพฤติกรรมผู้นำควรมีความอดทนในตน อดทนในงาน 2) ด้านปัญญาควรหมั่นศึกษาและพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง 3) ด้านจิตใจผู้นำควรสำรวจตน รู้จักวิเคราะห์ตนเอง ยอมรับในความแตกต่างของผู้อื่น 4) ด้านสังคมผู้นำควรเตรียมพร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆเพื่อนำพาองค์กรบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืน

References

เกล้าจิกา ถวัลย์เสรีและประเสริฐ อินทร์รักษ์. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา จังหวัดราชบุรี (วิทยานิพนธ์การบริหารการศึกษา) นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

คณะกรรมการบัญญัติศัพท์นิเทศศาสตร์ราชบัณฑิตยสภา. (2563). รู้จัก New Normal. สืบค้น 2 กรกฎาคม 2565, จาก https://news.thaipbs.or.th/content/292126

ชณภา ปุญณนันท์. (2563). การพัฒนาตนผ่านปรัชญากุญแจเก้าดอกของสถาบันพลังจิต ธรรมะ จักรวาล. วารสารวิจัยวิชาการ Nakhon Ratchasima college, 4(1), 213-222

ชัยธวัช เนียมศิริ. (2561). ภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพในยุค Thailand 4.0 กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น (วิทยานิพนธ์หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 60). กรุงเทพ: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.

ทรงศรี สารภูษิต. (2558). การพัฒนาความมั่นคงทางอารมณ์ของวัยรุ่นที่มาจากครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวโดยการปรึกษากลุ่มทฤษฎีเน้นทางออกระยะสั้น (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ทวีสันต์ วิชัยวงษ์ และยุภาพร ยุภาศ. (2562). ภาวะผู้นำยุคใหม่และทักษะการบริหารงานในองค์กร. วารสารแสงอีสาน มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, 16(2), 667-680

นิตย์ สัมมาพันธ์. (2546). พลังขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2564). ธรรมนูญชีวิต (พิมพ์ครั้งที่ 234).ขอนแก่น: สมาร์ทโฟโต้ปริ๊น.

พระมหาพชร กิตฺติวรเมธี .(2564). ภาวะผู้นำยุคใหม่กับการบริหารจัดการโดยใช้หลักภาวนา 4.วารสาร มจร เลย ปริทัศน์, 2(2),160-168

ภาราดร แก้วบุตรดี และคณะ. (2564). ภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์ปี 2021 .วารสารวิจยวิชาการ, 4(2), 283-296.

รัฐพล ฤทธิธรรม และโพชฌ์ จันทร์โพธ. (2564). ภาวะผู้นำและมาตรฐานทางจริยธรรมของผู้บริหารสมัยใหม่ที่มีประสิทธิผลสูง. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(4), 20-34.

ศิริรักษ์ บุญพร้อมรักษา. (2019). ทัศนและบทบาทผู้นำที่แท้จริงกับการบริหารองค์กรแห่งศตวรรษที่21. วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์, 12(7), 39-53

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2552-2555).กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2550). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรปภัตร จันทรสาขา. (2021). พฤติกรรมผู้นำที่ส่งผลต่อการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดสิงห์บุรี. วารสารศิลปการจัดการ, 5(1), 259-271

Bass, B. (1998). Transformational leadership: Industry, military, and educational impact. Mahwah. NJ: Erlbaum Associates.

Dewett, T. (2006). Exploring the role of risk in employee creativity. Journal of Creative Behavior, 40(1), 27–45

Flippo, E.B (1967). Principle of personnel administration. New York: McGraw – Hill.

Holtz, S. (2004). Corporate Conversations: a Guide to Crafting Effective and Appropriate Internal Communication. New York: AMACOM.

Roscorla, T. (2010). Find out what innovative leaders do to cultivate of creativity and critical thinking. Paper presented at the T+L conference in Phoenix on October 25, 2010.

Sashkin, M. G. (2003). Leadership that Matters. San Francisco. CA: Berrett Koehler Publishers, Inc.

Surie, G. & Ashley, A. (2007). Integrating Pragmatism and Ethics in Entrepreneurial Leadership for Sustainable Value Creation. Journal of Business Ethics, 81,235–246.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-24

How to Cite