ภาวะผู้นำตามหลักปาปณิกธรรมของผู้นำสตรี ในการพัฒนาท้องถิ่นไทย

ผู้แต่ง

  • มาลัย สาแก้ว บริษัท เอ.เอ็ม.เอส.ปิโตร จำกัด

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, หลักปาปณิกธรรม, ผู้นำสตรี

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอภาวะผู้นำตามหลักปาปณิกธรรมของผู้นำสตรีในการพัฒนาท้องถิ่นไทย โดยการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นนั้น นับเป็นพัฒนาการสำคัญอีกก้าวหนึ่งที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีในชนบท สถานการณ์ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากความก้าวหน้าของสังคมที่เปิดกว้าง ทำให้ผู้หญิง มีความสามารถ เฉลียวฉลาด สามารถทำประโยชน์ให้กับสังคมได้ และนำมาซึ่งความเป็นผู้นำสตรีในการพัฒนาท้องถิ่น โดยการบริหารงานตามหลักปาปณิกธรรม สอดคล้องกับการสร้างสรรค์สังคมในปัจจุบัน ได้แก่ 1) จักขุมา หมายถึง มีปัญญามองการณ์ไกล 2) วิธูโร หมายถึง จัดการธุระได้ดีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และ 3) นิสสยสัมปันโน หมายถึง พึ่งพาอาศัยคนอื่นได้ เพราะเป็นคนมนุษยสัมพันธ์ดี ซึ่งภาวะผู้นำตามหลักปาปณิกธรรมของผู้นำสตรีในการพัฒนาท้องถิ่นไทย ดังกล่าวจะนำมาซึ่งการพัฒนาท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นที่ยอมรับของคนในสังคม อันจะนำไปสู่การพัฒนาชุมชน และสังคมที่ยั่งยืนต่อไป

References

ชลอ ธรรมศิริ. (2535). ชีวิตงานที่ผ่านพบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2552). ภาวะผู้นำ และผู้นำ กลยุทธ์ Leadership and Strategic Leader. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2552). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ (ฉบับประมวลธรรม). กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ บริษัทสหธรรมมิก จำกัด.

วิเชียร วิทยอุดม. (2548). ภาวะผู้นำ Leadership ฉบับก้าวล้ำยุค. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง และประยุทธ ชูสอน. (2557). ภาวะผู้นำ แบบโลกาภิวัตน์: แนวคิดและการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์นานาวิทยา.

สุภัททา ปิณฑะแพทย์. (2545). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตนเอง. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา.

อาคม วัดไธสง. (2547). หน้าที่ผู้นำในการบริหารการศึกษา. สงขลา: เอกสารและตำรามหาวิทยาลัยทักษิณ.

Bass. B.M. (1985). Improving perspective on charismatic leadership in charismatic Leadership. San Fransisco: Jossey-Bass.

Kotter, J. (1990). A Force of Change: New Leadership Differs from Management. London: Macmillan.

Likert, R. (1967). The method of constructing and attitude scale. In Fishbeic, M (Ed.). Attitude Theory and Measurement. New York: Wiley & Son.

Manz, C., & Sims, H.P. (2001). The new super leadership: Leading others to lead themselves. Sanfrancisco: Berrett-Koehler.

Mushinsky. P.M. (1997). Phychology applied to work and introductions to industrial and organization phychology. (5th ed.). California: Brooks.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-24

How to Cite