Sijtsma, Klaas. (2009). On the Use, the Misuse, and the Very limited Usefulness of Cronbach’s Alpha. Psychometrica (71) 1: 107-120.
Keywords:
Validity, Reliability, SensitivityAbstract
ในการดำเนินการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (Scientific research) เครื่องมือที่ใช้การวิจัยจะต้องมีคุณภาพ กล่าวคือ มีความแม่นตรง (Validity) ความเชื่อมั่นได้ (Reliability) และความไว (Sensitivity)
Kerlinger และ Lee (2000: 642) มีความเห็นว่าเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย หรือเครื่องมือในการวัด (Measurement instrument) เพื่อกำหนดค่าของตัวแปรที่เชื่อมั่นได้ (Reliable) คือ เครื่องมือวัดที่มีเสถียรภาพ สามารถพึงพาได้ ใช้พยากรณ์ได้ ไม่บิดเบือน และสามารถระบุได้ว่ามีความคลาดเคลื่อนของการวัดมากน้อยเพียงใด (Stability, dependability, predictability, a lack of distortion, and how much error of measurement there is)
โดยหลักการเบื้องต้น เครื่องมือวัดที่มีความเชื่อมั่นได้จะต้องเป็นเครื่องมือวัดที่เมื่อใช้วัดสิ่งใดกี่ครั้งก็ตาม จะได้ผลจากการวัดเท่ากันเสมอ อาจเปรียบเทียบได้กับเครื่องชั่งน้ำหนัก หรือตราชั่ง ที่มีความเชื่อมั่นได้ เมื่อนำสิ่งของสิ่งหนึ่งมาชั่ง เช่น ได้น้ำหนัก 10 กิโลกรัม จะชั่งกี่ครั้งก็ตาม เครื่องชั่งจะบอกค่าน้ำหนักเท่ากับ 10 กิโลกรัมเสมอ
References
Kerlinger, F.N. and lee, H.B. (2000). Foundations of Behavioral Research (4th edition). Wads Warth-Thomson Learners.
Lord, F.M., and Novick, M.R.(1968). Statistical Theories of Mental Test Scores. Reading: Addison- Wesley.
Patchen, Martin. (1965). Some Questionaire Measures of Employee Motivation and Morale: A Report on Their Reliability and Valiality. Monograph No. 41. Survey Research Center, Institute of Social Research, The University of Michigan.
Schmitt, N. (1996). Uses and abuses of coefficient alpha. Psychological Assessment. 8: 350-353.
Ten Berge, T.M.F, and Socan, G. (2004). The greatest lower bound to the reliability of a test and the hypothesis of unidimenstionality. Psychometrika, 69: 613-625.
Trizano-Hermosilla, Italo and Alvarado, Jesus M.(2016). Best Alternatives to Cronbach’s Alpha Reliability in Realistic Conditions: Congeneric and Asymmetrical Measurements. Front. Psycho.7: 769.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
ทัศนคติ ความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารเกษมบัณฑิตฉบับนี้เป็นของผู้เขียน โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตและบรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องมีความเห็นพ้องด้วย