พลวัตการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณเมืองเชียงใหม่ และการคาดการณ์ความเป็นเมืองในอนาคตด้วย SLEUTH Model

Main Article Content

สมพร สง่าวงศ์

บทคัดย่อ

การขยายตัวของเมืองเชียงใหม่อย่างรวดเร็วเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน/สิ่งปกคลุมดิน การเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาเส้นทางการคมนาคมขนส่ง และการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร เป็นปัจจัยเร่งที่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก บทความนี้ได้ประยุกต์ใช้ข้อมูลการสำรวจจากระยะไกล ได้แก่ข้อมูลดาวเทียมสำรวจแผ่นดิน (LANDSAT) ระบบ TM(พ.ศ. 2532, 2549 และ 2552 ) และระบบ ETM+ (พ.ศ. 2543) ซึ่งนำมาปรับแก้ความคลาดเคลื่อนก่อนการวิเคราะห์ ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียมในบริเวณพื้นที่ศึกษาจำนวน 4 ช่วงเวลา แบ่ง ออกได้ 5 ประเภทใหญ่ ดังนี้ (1) พื้นที่เกษตร (2) ป่าไม้ (3) พื้นที่อื่นๆ (4)เมือง/สิ่งปลูกสร้าง และ (5) แหล่งน้ำ ซึ่งพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทุกประเภทตามช่วงเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่เมืองมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และจากการจำลองการขยายตัวของพื้นที่เมือง (พ.ศ.2550 ถึง พ.ศ. 2559) โดยใช้แบบจำลอง SLEUTH พบว่าพื้นที่เมืองมีความหนาแน่นสูงขึ้นและมีขนาดเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถวัดด้วยค่าดัชนีความหนาแน่นของพื้นที่เมือง (path density index) ดัชนีความใกล้เคียงยูคลิด (Euclidean nearest neighbor index) และดัชนีรูปร่าง (shape index) สามารถสรุปได้ว่าการขยายตัวของพื้นที่เมืองเชียงใหม่มีลักษณะเป็นแบบพอกพูนไปตามขอบเมืองและเกาะกลุ่มตามเส้นทางคมนาคม หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน สามารถนำเอาผลที่ได้จากการศึกษามาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของพื้นที่เมืองและประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน/สิ่งปกคลุมดินที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวของพื้นที่เมืองร่วมกับปัจจัยอื่นๆ ได้

Article Details

How to Cite
สง่าวงศ์ ส. (2019). พลวัตการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณเมืองเชียงใหม่ และการคาดการณ์ความเป็นเมืองในอนาคตด้วย SLEUTH Model. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 21(1), 119–169. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/173344
บท
บทความวิชาการ

References

กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย.2525. เอกสารประกอบการวางและจัดทำผังเมืองรวมเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

กานต์ชนก ประกาศวุฒิสาร. 2552. การเคลื่อนไหวของประชาสังคมในเมืองเชียงใหม่ต่อประเด็นปัญหาที่เกิดจากความเป็นเมือง ระหว่างปี พ.ศ.2540-พ.ศ.2551.วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร์ มหาบัณฑิตคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

คณะกรรมการจัดทำหนังสือ “กำาแพงเมืองเชียงใหม่”. 2529. กำาแพงเมืองเชียงใหม่.เชียงใหม่: ทิพย์เนตรการพิมพ์.

ธเนศวร์ เจริญเมือง. 2543. เชียงใหม่ก้าวสู่สหัสวรรรษใหม่. เชียงใหม่ก้าวสู่ศตวรรษที่21, เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาปัญหาเมืองเชียงใหม่.

ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมือง.2541. เมืองและการผังเมืองในประเทศไทย. เชียงใหม่:โรงพิมพ์มิ่งเมือง.

ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมือง.2548. เมืองยั่งยืนในเชียงใหม่: แนวคิดและประสบการณ์ของเมืองในหุบเขา. เชียงใหม่: โรงพิมพ์แสงศิลป์.

นวลศิริ วงศ์ทางสวัสดิ์. 2528. ชุมชนโบราณในเขตล้านนา. เชียงใหม่: ภาควิชาภูมิศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมพร สง่าวงศ์. 2552. การสำารวจจากระยะไกลในด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน/สิ่งปกคลุมดินและการประยุกต์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานสถิติจังหวัดเชียงใหม่, 2547. สมุดรายงานสถิติจังหวัด พ.ศ. 2547. สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและกรสื่อสาร.

Candau, J. 2000.Calibrating a cellular automaton model urban growth in a timely manner. In Proceedings of the 4th International Conference on Integrating Geographic Information Systems and Environmental Modeling. (Bolder: University of Colorado)

Clarke, K. C., S. Hoppen. and L. Gaydos.1996. Methods and techniques for rigorous calibration of a Cellular Automaton model of urban growth. Proceedings, Third International Conference/Workshop on Integrating Geographic Information Systems and Environmental Modeling, January
21-25th, Santa Fe, NM.

Clarke, K. C., S. Hoppen, and L. Gaydos.1997. “A self-modifying cellular automaton model of historical urbanization in the San Francisco Bay area” Environment and Planning B: Planning and Design 24: 247-261.

Clarke,K. C. and L. Gaydos.1998. “Loose coupling a Cellular Automaton model and GIS: Long-term growth prediction for San Francisco and Washington/Baltimore”. International Journal of Geographical Information Science 12 (7): 699-714.

Clarke, K. C. 2002. Land Use Change Modeling Using SLEUTH. Proceedings LUCC training workshop. National Taiwan University, Taiwan. 15-19 December 2002.

Jantz, C. A., Goetz, S. J., and Shelley, M .K. 2003. “Using the SLEUTH urban growth model to simulate the impacts of future policy scenarios on urban land use in the Baltimore/Washington metropolitan area”. Environment and Planning B. 31: 251–271.

Lebel, L., D. Thaitakoo, S. Sangawongse, and D.Huaisai. (2007). “Views of Chiang Mai: the Contributions of Remote Sensing to Urban Governance and Sustainability”. Chapter10 in M. Netzband, C. Redman, and W. Stefanov. (Ed).Applied Remote Sensing for Urban Planning, Governance and Sustainability. Springer-Verlag.

Lebel, L. 2009. Critical States: Environment Challenges to Development in Monsoon Southeast Asia. In Louis Lebel et al edititon. Malaysia: Vinlin Press Sdn Bhd.

Lo, C. P., and X. J. Yang. 2002. “Drivers of land-use/land-cover changes and dynamic modeling for the Atlanta, Georgia Metropolitan Area”. Photogrammetric Engineering and Remote Sensing 68 (10): 1073-1082.

Renard, R. D. 1997.“Chiang Mai and its Environment”. Symposium on Populations, Health and the Environment, Department of Geography, Chiang Mai Univerisity.

Sangawongse, S.1995. “Landscape Change Detection in a Tropical Monsoon of Northern Thailand Using LANDSAT TM Data: Application in the Chiang Mai Basin”. Asian-Pacific Remote Sensing Journal 821: 59-70.

Sangawongse, S.1996. “Landscape Change Detection in the Chiang Mai Area: An Appraisal from Remote Sensing, GIS and Cartographic Data Developed for Monitoring Applications”. Doctoral dissertation, Department of Geography and Environmental Science, Monash University,Clayton, Victoria, Australia.

Sangawongse S, C. H. Sun, and B. W Tsai. 2005. “Urban growth and land cover change in Chiang Mai and Taipei: results from the SLEUTH model”. Proceedings of MODSIM 2005, the International Congress on Modeling and Simulation of Australia and New Zealand, Melbourne, Australia.

Sangawongse S. 2006. “Land-Use/Land-Cover Dynamics In Chiang Mai : Appraisal from Remote Sensing, GIS and Modeling Approaches”. CMU Journal 5 (2): 243-254.

Silva, E. A, and Clarke, K. C. 2002. “Calibration of the SLEUTH urban growth model for Lisbon and Porto”. Computers, Environment and Urban System 26s: 525-552.

Wara-Aswapatti, P. 1991. “Image processing technique for urban and rural land use monitoring in northern Thailand”. Journal of Thai Geosciences 1: 59-63.

White, R. and Engelen, G. 1997. “Cellular automata as the basis of integrated dynamic of regional analysis”. Environment and Planning B. Planning and Design 24: 235-246.

Xialou Zhou, Yi-Chen, W. and Sangawongse, S. 2009. “Prediction Urbanization Process using SLEUTH and Its Temporal Accuracy Evaluation”. ESRI Asia-Pacific User Conference (Plenary paper), 20-21 Jan, Suntec City, Singapore.

Yap Kioe Sheng and Lebel, L. 2009. “Incomplete Urbanization”. Louis Lebel, Anond Snidvongse, Arthur C-T Chen and Rajesh Daniel ed. Critial States: Environmental Challenges to Development in Monsoon Southeast Asia. Malaysia: Vinlin Press Sdn.Bhd.

Yarnasarn, S.1985. Land-use patterns and land-use changes in Chiang Mai, northern Thailand. Doctoral dissertation, Columbia University.

เว็บไซต์ (Websites):
http://chiangmai.nso.go.th/chmai/hots/stat1.htm

http://www.ncgia.ucsb.edu/projects/gig/ncgia.html