ปัจเจกในฐานะผู้กระทำการ หรือจุดบอดของการเคลื่อนไหวทางการเมืองว่าด้วยความเป็นเพศ

Authors

  • ศิริจินดา ทองจินดา Faculty of Humanities and Social Sciences, Payap University

Keywords:

ความเป็นเพศ, สภาวะความเป็นวัตถุในคราบปัจเจก, อำนาจ, ความจริง, การต่อรองความเป็นเพศ

Abstract

บทความชิ้นนี้ ตั้งคำถามต่อประเพณีปฏิบัติทางความคิดเรื่องเพศ ในท่ามกลางการเคลื่อนไหวทางการเมืองเรื่องเพศ โดยย้อนกลับไปสำรวจความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นเพศที่ยึดถือกันในหมู่นักกิจกรรมสตรีนิยม และในสังคมโดยรวม โดยผู้เขียนเสนอว่า ที่ผ่านมาสังคมไม่ได้ขาดแคลนความเข้าใจรูปแบบอื่นเกี่ยวกับความเป็นเพศของคนเรา แต่ขาดแคลนการเปิดกว้างทางความชอบธรรมในการที่จะยอมรับของความเข้าใจอื่นๆ เกี่ยวกับเรื่องเพศ ด้วยการไปตีกรอบปริมณฑลของ “ความจริง” ให้รับรองความชอบธรรมของเรื่องเล่าเกี่ยวกับความเป็นเพศได้บางเรื่องเท่านั้น และแนบเนียนยิ่งขึ้นไปอีกด้วยการสร้างให้ “ความจริง” กลายเป็นมาตรฐานของความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ในขณะที่อีกมุมหนึ่ง การก้าวพ้นจาก “มาตรฐานความจริง” ก็สามารถนำพาเราไปเข้าใจเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับความเป็นเพศได้เช่นเดียวกับเรื่องเล่าภายใต้ “มาตรฐานความจริง” ต่างกันเพียงแค่อำนาจที่มากำกับการยอมรับเรื่องเล่านั้นๆ ว่าจะถูกเรียกว่า “เรื่องจริง” หรือ”เรื่องไม่จริง” เท่านั้นเอง

References

ธงชัย วินิจจะกูล (2544) “การศึกษาประวัติศาสตร์แบบ Postmodern” ในกาญจนี ละอองศรี - ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ (บ.ก.). ลืมโคตรเหง้าก็เผาแผ่นดิน รวมบทความเนื่องในวาระครบรอบ 60 ปี ชาญวิทย์ เกษตรศิริ กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มติชน.

ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (2547) ร่างกายอันแปลกแยก ชาติอันรุนแรง และการเคลื่อนไหวข้ามชาติของผู้หญิงไทใหญ่ บทความนำเสนอในงานประชุมวิชาการครั้งที่ 4 เรื่องวัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรงจัดโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

เปรมปรีดา ปราโมช ณ อยุธยา (2546) การช่วงชิงอัตลักษณ์ “กะเทย” ในงานคาบาเรต์โชว์ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พริศรา แซ่ก้วย (2547) “สั้นๆ เกี่ยวกับเพศวิถีจากมุมมองสตรีนิยม” ในกาญจนา แก้วเทพ และพริศรา แซ่ก้วย (บ.ก.) เพศวิถี: วันวาน วันนี้และวันพรุ่งที่จะไม่เหมือนเดิม. 13-22.

วารุณี ภูริสินสิทธิ์ (2545) สตรีนิยม: ขบวนการและแนวคิดทางสังคมแห่งศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

ยศ สันตสมบัติ (2549) สตรีนิยมผิวขาวกับความเข้าใจใน “เพศสภาพ” และ“เพศสัมพันธ์” ในสังคมไทย ใน
อานันท์ กาญจนพันธุ์ (บ.ก.). อยู่ชาย-ขอบมองลอดความรู้ รวมบทความเนื่องในวาระครบรอบ 60 ปี อาจารย์ฉลาดชาย รมิตานนท์. กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์มติชน.

ยศ สันตสมบัติ (2542) “จิตวิเคราะห์และทฤษฎีสังคม” ฟรอยด์และพัฒนาการของจิตวิเคราะห์ : จากฝันสู่ทฤษฎีสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมชัย เย็นสบาย (2542) “การเมืองเรื่องร่างกาย: กรณีธรรมชาติของความรักในเพศเดียวกัน” ใน รัฐศาสตร์สาร. 21(3): 300-326.
ศิริจินดา ทองจินดา (2547) คุกหญิงกับการเลื่อนไหลและหลากหลายของเพศสภาพ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (2546) “อัตลักษณ์ในแนวคิดหลังสมัยใหม่” อัตลักษณ์การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สำานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

เอกรงค์ ภาณุพงศ์ (2545) จับพิรุธพงศาวดาร เรื่อง…เซ็กซ์ในราชสำานัก. กรุงเทพฯ: สยามอินเตอร์บุคส์.

Clarke, Cheryl “Lesbianism: An Act of Resistance” In Jackson, Stevi and Scott, Sue, eds., Feminism and Sexuality: A Reader. Edinburgh: Edinburgh University Press: 155-161.

Deveaux, Monique (1999) “Feminism and Empowerment: A Critical Reading of Foucalut” in Hesse-Biber, Sharlene, Gilmartin, Christina and Lydenberg, Robin, eds., Feminist Approaches to Theory and Methodology: An Interdisciplinary Reader. New York: Oxford University Press: 236-256.

Foucault, Michel (2000) “The Subject and Power” In Nash, Kate., eds., Reading in Contemporary Political Sociology. Oxford: Blackwell Publishers: 8 - 26.

Foucault, Michel (1990) “Right of Death and Power over Life” In Robert, Hurley., Translator. The History of Sexuality Volume I: An Introduction. New York: Vintage Books: 135-159 Gagnon, J.H. and Parker, R.G. “Conceiving Sexuality” In Parker, R.G. and Gagnon, J.H., eds., Conceiving Sexuality: Approaches to Sex Research in a Postmodern World. New York: Routledge: 3-16. Herdt, Gilbert and Boxer, Andrew “Bisexuality Toward a Comparative Theory of Identities and Culture” In Parker, R.G. and Gagnon, J.H., eds., Conceiving Sexuality: Approaches to Sex
Research in a Postmodern World. New York: Routledge: 69-84.

Ho, Engseng (2001) “The precious Gift of Genealogy” Department of Anthropology, Harvard University

Ho, Engseng (2002) “Name Beyond Nations: The Making of Local Cosmopolitans”. Department of Anthropology, Harvard University. Irigaray, Luce “This Sex Which is Not One” In Jackson, Stevi and
Scott, Sue, eds., Feminism and Sexuality: A Reader. Edinburgh: Edinburgh University Press: 79-83.
Mohanty, Chantra Talpade “Feminist encounters: locating the politics of experience” In Nicholson, Linda and Seidman, Steven, eds., Social Postmodernism: Beyond Identity Politics. New York: Cambridge University Press: 68-86.

Nicholson, Linda (1995) “Interpreting Gender” In Nicholson, Linda and Seidman, Steven, eds., Social Postmodernism: Beyond Identity Politics. New York: Cambridge University Press: 39-67.
Traub, Valerie “The Psychomorphology of the Clitoris” In Hesse Biber, Sharlene, Gilmartin, Christina and Lydenberg, Robin, eds., Feminist Approaches to Theory and Methodology: An Interdisciplinary Reader. New York: Oxford University Press:301-329. Weeks, Jeffrey “History, Desire, and Identities” In Parker, R.G. and Gagnon, J.H., eds., Conceiving Sexuality: Approaches to Sex Research in a Postmodern World. New York: Routledge: 33-50.

เอกสารอิเลคโทรนิกส์
http://talk.sanook.com

Downloads

Published

2019-02-26

How to Cite

ทองจินดา ศิริจินดา. 2019. “ปัจเจกในฐานะผู้กระทำการ หรือจุดบอดของการเคลื่อนไหวทางการเมืองว่าด้วยความเป็นเพศ”. Social Sciences Academic Journal, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University 18 (1):59-100. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/174655.