แม่ชี: โลกของผู้หญิงที่ถูกลืม

Authors

  • ลัดดาวัลย์ ต๊ะมาฟู researcher

Keywords:

แม่ชี, พุทธศาสนาเถรวาท, อัตลักษณ์, เพศสภาวะ, พื้นที่ทางสังคม

Abstract

บทความเรื่อง “แม่ชี: โลกของผู้หญิงที่ถูกลืม” ได้อธิบายการนิยามตนเองและตำาแหน่งแห่งที่ของแม่ชีจากประสบการณ์ทางศาสนา และการใช้ชีวิตภายใต้ปริมณฑลพุทธศาสนาเถรวาทในไทย อันจะนำาไปสู่การเชื่อมโยงประสบการณ์ชีวิตในมิติทางศาสนาของผู้หญิงเข้ากับปฏิบัติการที่แสดงออกในชีวิตประจำาวัน ภายใต้ความคลุมเครือของสถานะความเป็นนักบวชระหว่างความเป็นอุบาสิกาและนักบวชหญิง บทความเสนอว่า การนิยามหรือให้คุณค่าความเป็นนักบวชในหมู่แม่ชีมีความหมายที่หลากหลาย ซึ่งการนิยามดังกล่าวเกี่ยวเนื่องกับมุมมองที่แม่ชีมีต่อตนเอง และสถานการณ์ที่แม่ชีเกี่ยวข้อง สถานภาพความเป็นนักบวชของแม่ชีนั้นเกี่ยวข้องกับโครงสร้างทางศาสนาในสังคมไทย และสัมพันธ์กับการปฏิบัติและการบรรลุเป้าหมายในพุทธศาสนาของนักบวชหญิง แม้ว่า ‘การบรรลุธรรม’ ในพุทธศาสนาจะต้องเกิดขึ้นในมิติประสบการณ์ส่วนบุคคลและจำาเป็นต้องปฏิบัติด้วยตนเอง ทั้งนี้ต้องมีโครงสร้างทางสังคมและพุทธศาสนาที่เอื้ออำานวยต่อการปฏิบัติให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น ซึ่งผู้ศึกษาหมายถึงการมีชุมชนสงฆ์และชุมชนชาวบ้านที่เกื้อกูลต่อความก้าวหน้าในการปฏิบัติของนักบวชด้วย

References

สุวรรณา สถาอานันท์ (2541) “กายกับการบรรลุธรรม” ปริตตา เฉลิมเผ่ากออนันตกูล (บก.) ใน เผยร่าง-พรางกาย: ทดลองมองร่างกายในศาสนา ปรัชญา การเมือง ประวัติศาสตร์ ศิลป และมานุษยวิทยา.กรุงเทพฯ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หน้า 51-62.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (2543ก) “ศาสนทัศน์ของชุมชนเมืองสมัยใหม่ ศึกษากรณีวัดพระธรรมกาย” พุทธศาสนศึกษา 5 (1): 1-88.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (2543ข) “พื้นที่ในทฤษฎีสังคมศาสตร์” วารสารสังคมศาสตร์ 12 (2): 63-101.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (2543ค) “ศาสนา” คณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (บก.) ใน แนวความคิดพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรม.เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 77-86.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล อัตลักษณ์: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด.เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Massey, Doreen (1993) “Power Geometry and a Progressive Sense of Place”, in Jon Bird (ed.). Mapping the Futures: Local Cultures and Global Change. New York: Routledge. pp. 59-69.

Pile, Steve (1995) “Introduction: Opposition, Political Identities and Spaces of Resistance”, in Steve Pile and Michael Keith (eds.). Geographies of Resistance. New York: Routledge. pp. 1-32.

Scott, James (1985) Weapons of the Weak: Every Form of Peasant Resistance. New Haven: Yale University Press.

Scott, James (1990) Domination and the Arts of Resistance: Hidden Transcripts. New Haven: Yale University Press.

Downloads

Published

2019-02-26

How to Cite

ต๊ะมาฟู ลัดดาวัลย์. 2019. “แม่ชี: โลกของผู้หญิงที่ถูกลืม”. Social Sciences Academic Journal, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University 18 (1):104-31. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/174661.