จริยธรรมในการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์

Authors

  • เทพินทร์ พัชรานุรักษ์ Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University

Keywords:

จริยธรรม, สังคมศาสตร์, สุขภาพ

Abstract

ในขณะที่การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ในด้านต่างๆ อย่างเป็นระบบ หากมิติทางจริยธรรมกลับเป็นเงื่อนไขพื้นฐานสำคัญในการยอมรับความน่าเชื่อถือของทั้งผลการศึกษา ตัวบุคคลผู้ศึกษารวมทั้งสาขาวิชาชีพที่ทำการศึกษา จริยธรรมในการวิจัยทางสังคมศาสตร์พัฒนาขึ้นจากการวิจัยทางการแพทย์ บทความนี้ตั้งข้อสังเกตถึงการปรับใช้หลักจริยธรรมที่พัฒนาขึ้นจากการวิจัยทางการแพทย์ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์สุขภาพ ความแตกต่างในธรรมชาติกรอบคิดและระเบียบวิธีการศึกษาโดยเฉพาะในการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative methods) ที่ทำให้การประเมินจริยธรรมในการวิจัยจำเป็นต้องอาศัยความยืดหยุ่นควบคู่ไปกับการดำเนินการที่กำาหนดเป็นแบบแผน

References

คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (2543) จรรยาบรรณนักวิจัยเพื่อการพัฒนาสังคม,เอกสารในการประชุมเพื่อพัฒนาโครงการวิจัยทางคลินิก จัดโดยงานเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคน กระทรวงสาธารณสุข ณ โรงแรมอมารีแอร์พอร์ต กรุงเทพฯ 4 สิงหาคม 2549 โครงการส่งเสริมและเผยแพร่จรรยาบรรณนักวิจัย สำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กรุงเทพฯ

Brennan, J.G. (1973) Ethics and Morals, New York, Harper& Row Publishers

Homan, R. (1991) The Ethics of Social Research, London, Longman

Lee-Treweek, G and Stephanie Linkogle (2000) Danger in the field: risk and ethics in social research, London, Routledge.

Murphy, E. et al. (1998) Qualitative research methods in health technology assessment, Health Technology Assessment NHS R&D HTA Programme, UK.

Murphy, E and Robert Dingwall (2001) The Ethics of Ethnography In Handbook of Ethnography, edited by Paul Atkinson, Amenda Coffey, Sara Delamont, John Lofland and Lyn Lofland, London,
Sage

Downloads

Published

2019-02-26

How to Cite

พัชรานุรักษ์ เทพินทร์. 2019. “จริยธรรมในการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์”. Social Sciences Academic Journal, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University 18 (1):205-23. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/174671.