พัฒนาการการควบคุมพฤติกรรมก้าวร้าวในรัฐสยาม

Main Article Content

Charn Panarut

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการเมืองระหว่างสยามกับตะวันตก ที่เปลี่ยนไปจากยุครัฐจารีตสู่ยุคอาณานิคมและรัฐสมัยใหม่ โดยความสัมพันธ์ระหว่างสองฝ่ายที่เพิ่มขึ้นในยุคอาณานิคมได้สร้างอัตลักษณ์ “ศิวิไลซ์” ในฐานะที่เป็นการควบคุมตนเองของชาวสยามอย่างไร จากการศึกษาผ่านทฤษฎีสังคมวิทยาเชิงกระบวนการ พบว่า ในยุคอาณานิคม ชนชั้นนำสยามรับแรงกดดันจากชาวตะวันตกจนต้องปรับตัวเข้าสู่การควบคุมตนเองไม่ให้ใช้ความรุนแรงเกินพรมแดนรัฐ และไม่ใช้ความรุนแรงต่อคนในบังคับของเจ้าอาณานิคม นอกจากนี้ การค้า “เสรี” ส่งผลให้ชนชั้นนำสยามสัมพันธ์กับสามัญชนผู้เข้าสู่เศรษฐกิจแบบเงินตราผ่านการเก็บภาษี แม้ว่ารัฐสยามสมัยใหม่พยายามสร้างการควบคุมตนเอง ผ่านการสนับสนุนการศึกษาและกีฬาสมัยใหม่ให้แก่สามัญชน แต่การต่อต้านยังคงพบได้ทั่วไป

Article Details

How to Cite
Panarut, C. (2019). พัฒนาการการควบคุมพฤติกรรมก้าวร้าวในรัฐสยาม. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 31(1), 80–109. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/192548
บท
บทความวิชาการ

References

ภาษาไทย
กรมศิลปากร. 2557. หนังสือจิตรกรรมฝาผนังวัดบวรสถานสุทธาวาส. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.

จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. 2508. ชุมนุมพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.

_____. 2547. ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. 2555. ระยะทางเที่ยวชวากว่าสองเดือน: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อรัตนโกสินทรศก 115. กรุงเทพฯ: แสงดาว.

แจ้งความสโมสรมวยปล้ำ. 2450. วิทยาจารย์. 7(6), 206-7.

ชาญ พนารัตน์. 2557. “ฟุตบอล ร่างกาย ความศิวิไลซ์ และการจัดระเบียบทางสังคมในสมัยรัชกาลที่ 5.” ใน, ฟุตบอลไทย : ประวัติศาสตร์ อำนาจ การเมือง และความเป็นชาย, บรรณาธิการโดย วสันต์ ปัญญาแก้ว, พงศกร สงวนศักดิ์ และจุติพร ทรัพย์ปัญญาญาณ, 25-81. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

_____. 2559. “ฟุตบอลสยาม ความเปลี่ยนแปลงของกีฬาและสภาวะศีวิไลซ์.” ใน ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก: ผู้หญิง อำนาจ วัฒนธรรมแฟน และชนชั้นใหม่, บรรณาธิการโดย วสันต์ ปัญญาแก้ว, 59-87. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และกัณฐิกา ศรีอุดม, บรรณาธิการ. 2548. พระเจ้ากรุงสยามกับเซอร์จอห์น เบาว์ริง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. 2546. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 2. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ตำราราชเสวกครั้งกรุงเก่า. 2537. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทรงธรรม ปานสกุณ. 2555. เอกสารประกอบ “สมุดไทยดำ ตำราชกมวย. https://valuablebook2.tkpark.or.th/document_muaythai.html.

ทิพากรวงศ์. เจ้าพระยา. 2538. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ฉบับโรงเรียนสวนกุหลาบ กรุงเทพฯ : แสงไทยการพิมพ์.

_____. 2547. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

_____. 2548. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

แมคฟาร์แลนด์, จอร์จ บรัดเลย์, บรรณาธิการ. 2555. หนึ่งศตวรรษในสยาม ค.ศ.1828-ค.ศ.1928 : ประวัติสังเขปของพันธกิจคริสตจักรโปรเตสแตนท์ในสยาม. กรุงเทพฯ : อินเตอร์ พับลิชชิ่ง เอ็นเตอร์ไพรส์.

เวลลา, วอลเตอร์. 2514. แผ่นดินพระนั่งเกล้า. แปลโดย นิจ ทองโสภิต. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา (ไพศาลศิลปศาสตร์, พระ) และญาณวิจิตร, หลวง. 2448. ธรรมจริยา เล่ม ๖. กรุงเทพฯ: อักษรนิติ.

สาคชิดอนันท สหาย. 2546. ร.5 เสด็จอินเดีย. แปลโดย กัณฐิกา ศรีอุดม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ภาพมวยไทย ภ. 003 หวญ. 3/7 [30 พฤศจิกายน-2 ธันวาคม 2450]

สมุทรโฆษ คำฉันท์. 2504. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

สุนทรพิพิธ, พระยา. 2515. บันทึกความจำ เล่ม 1 เรื่องการศึกษา (และกีฬา) และการฝึกงานหัวเมือง. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

เสฐียรโกเศศ. 2531. อัตชีวประวัติของพระยาอนุมานราชธน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ออสบอร์น, มิลตัน. 2544. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : สังเขปประวัติศาสตร์. แปลโดย มันทนา เกษกมล, พรรณงาม เง่าธรรมสาร และธนาลัย (สุขพฒน์ธี) ลิมปรัตนคีรี. เชียงใหม่: ตรัสวิน (ซิลค์เวอร์มบุคส์).

อัญชลี สุสายัณห์. 2552. ความเปลี่ยนแปลงของระบบไพร่และผลกระทบต่อสังคมไทย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์


ภาษาอังกฤษ
The Royal Chronicles of Ayutthaya. 2006. Translated by R. D. Cushman. Bangkok: The Siam Society.

Baker, Chris and Pasuk Phongpaichit. 2002. Thailand: Economy and Politics. 2nd ed. New York: Oxford University Press.

_____. 2017. A History of Ayutthaya: Siam in the Early Modern World. Cambridge: Cambridge
University.

Broadhurst, Roderic, Thierry Bouhours and Brigitte Bouhours. 2015. Violence and the Civilising Process
in Cambodia. Cambridge: Cambridge University Press.

Brown, Ian. 1988. The Elite and the Economy in Siam, c. 1890-1920. Oxford: Oxford University Press.

_____. 1993. “Imperialism, Trade and Investment in the Late Nineteenth and Early Twentieth
Centuries.” In The Rise and Fall of Revenue Farming, edited by John G. Butcher and Howard W. Dick, .80-88. Houndmills: Palgrave Macmillan.

Bunnag, Tej. 1977. The Provincial Administration of Siam 1892-1915: The Ministry of the Interior under
Prince Damrong Rajanubhab. Melbourne: Oxford University Press.

Chandler, David. 1983. A History of Cambodia. Boulder, Colorado: Westview Press.

Charney, Michael. 2004. Southeast Asian Warfare, 1300-1900. Leiden: Brill.

Crawfurd, John. 1830. Journal of an Embassy from the Governor-General of India to the Courts of Siam and Cochin China; Exhibiting of a View of the Actual State of those Kingdoms. vol. 1. London: Henry Colburn and Richard Bentley.

Elias, Norbert. 1956. Problems of Involvement and Detachment. The British Journal of Sociology, 7(3),
226-252.

_____. 1978. What is Sociology?. London: Hutchison.

_____. 1991. The Society of Individuals. Edited by M. Schröter. Oxford: Basil Blackwell.

_____. 2000. The Civilizing Process: Sociogenetic and Psychogenetic Investigations. Edited by Eric Dunning, Johan Goudsblom, and Stephen Mennell. Cambridge: Blackwell Publishers.

_____. 2008. “Power and Civilisation.” In Essays II: On Civilising Processes, State Formation and National Identity, edited by Richard Kilminster and Stephen Mennell, 93-104. Dublin: University College Dublin Press.

Elias, Norbert. and Eric Dunning. 1986. Quest for Excitement: Sport and Leisure in the Civilizing Process.
Oxford: Basil Blackwell.

Gong, Gerrit. 1984. The Standard of 'Civilisation' in International Society. Oxford: Clarendon Press.

Hall, Daniel George. 1974. Henry Burney: A Political Biography. London: Oxford University Press.

Hewison, Kevin. 1989. Bankers and Bureaucrats: Capital and State in Thailand. New Haven: Yale Center for International and Area Studies, Yale University Southeast Asian Monographs, No. 34.

Hobsbawm, Eric John. 1987. The Age of Empire: 1875-1914. London: Weidenfeld and Nicolson.

Jackson, Peter A. 2004. “The Performative State: Semi-coloniality and the Tyranny of Images in Modern Thailand.” SOJOURN: Journal of Social Issues in Southeast Asia, 19 (2): 219-253.

Johnston, David. 1980. Bandit, Nakleng, and Peasant in Rural Thai Society. Contributions to Asian Studies, 15, 90-101.

Kitiarsa, Pattana. 2010. An Ambiguous Intimacy: Farang as Siamese Occidentalism. In R. V. Harrison and P. A. Jackson (Ed.), The Ambiguous Allure of the West: Traces of the Colonial in Thailand. Hong Kong: Hong Kong University Press.

Kesboonchoo-Mead, Kullada. 2004. The Rise and Decline of Thai Absolutism. New York: Routledge.

Linklater, Andrew. 2011. “Process Sociology and International Relations.” The Sociological Review, 59 (s1): 48-64.

Loos, Tamara. 2010. Competitive Colonialisms: Siam and the Malay Muslim South. In R. V. Harrison and P. A. Jackson (Ed.), The Ambiguous Allure of the West: Traces of the Colonial in Thailand. Hong Kong: Hong Kong University Press.

Love, Ronald. 1996. Rituals of majesty: France, Siam, and court spectacle in royal image-building at Versailles in 1685 and 1686. Canadian Journal of History, 31(2).

Low, James. 1836. “On Siamese Literature.” Asiatic Researches, XX (II): 278-392.

Lysa, Hong. 1983. “The Tax Farming System in the Early Bangkok Period.” Journal of Southeast Asian Studies, 14 (02): 379-399.

_____. 2003. “Extraterritoriality in Bangkok in the Reign of King Chulalongkorn, 1868–1910: The Cacophonies of Semi-Colonial Cosmopolitanism.” Itinerario, 27 (2): 125-146.

Moffat, Abbot Low. 1962. Mongkut, the King of Siam. Ithaca, New York: Cornell University Press.

d’ Orléans, P.-J. 1857. “History of Constance Phaulcon.” In The Kingdom and People of Siam: With a Narrative of the Mission to that Country in 1855, translated by John Bowring, vol. 2, pp.385-410. London: J.W. Parker.

Panarut, Charn. 2017. “Sports in Pre-Modern and Early Modern Siam: Aggressive and Civilised Masculinities.” PhD Diss., University of Sydney.

Peleggi, Maurizio. 2002. Lords of Things: The Fashioning of the Siamese Monarchy’s Modern Image. Hawai’i: University of Hawai’i Press.

Smithies, Michael and Luigi Bressan. 2001. Siam and the Vatican in the Seventeenth Century River Books: Bangkok.
The Siamese Government and the British Government. 1826. Treaty between the King of Siam and Great Britain, June 20, 1826. https://en.wikisource.org/wiki/Burney_Treaty.

Vella, Walter Francis. 1955. The Impact of the West on Government in Thailand. Berkeley: University of California Press

Vickery, Michael. 1970. Thai Regional Elites and the Reforms of King Chulalongkorn. The Journal of Asian Studies, 29(4), 863-881.

Winichakul, Thongchai. 2000. The Quest for “Siwilai”: A Geographical Discourse of Civilizational Thinking in the Late Nineteenth and Early Twentieth-Century Siam. Journal of Southeast Asia Studies, 59(3), 528-549.

หนังสือพิมพ์
The Bangkok Recorder. 1865. 5 October, 132.

The Bangkok Recorder. 1865. 19 October, 142.

The Bangkok Recorder. 1866. 15 May, 68.

The Bangkok Recorder. 1866. 12 July, 109-110.