การรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์ต่อฝุ่นควัน PM 2.5

Main Article Content

ชมพูนุช โสภาจารีย์
เครือวัลย์ คำฟู
บุญญาภัทร ชาติพัฒนานันท์
ศรีสุรักษ์ เกียรติมณีรัตน์
ศลิษา โกดยี่
ณฐมน วุฒิพันธุ์
ประภัสสร ธรรมเมธา
นิลาวรรณ ฉันทะปรีดา

บทคัดย่อ

การวิจัยแบบผสมผสานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์ต่อฝุ่นควัน PM 2.5 ในจังหวัดเชียงราย เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสม (Mixed Methods Research) ทั้งเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากหญิงตั้งครรภ์ 108 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิด้วยแบบสอบถามวัดความรู้เรื่องการป้องกันและดูแลสุขภาพเมื่อเกิดฝุ่นควัน PM 2.5 และแบบวัดความตระหนักในการแก้ไขปัญหาและดูแลสุขภาพเมื่อเกิดฝุ่นควัน PM 2.5 ซึ่งแบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัยนี้มีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง 0.51-0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การศึกษาเชิงคุณภาพ ซึ่งคัดเลือกหญิงตั้งครรภ์ 10 รายแบบเจาะจง เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และการตรวจสอบสามเส้า (triangulation) ผลการศึกษาพบว่า หญิงตั้งครรภ์
มีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เรื่องการป้องกันและดูแลสุขภาพเมื่อเกิดฝุ่นควัน PM 2.5 เท่ากับ 7.55 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.18 มีความตระหนักรู้มากที่สุดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงที่ผิดปกติเมื่ออยู่ในสถานที่มี
ฝุ่นควัน PM 2.5 ในปริมาณมากโดยมีค่าเฉลี่ย 4.58 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.55 และมีความตระหนักรู้น้อยที่สุดในการติดตามความรุนแรงของปัญหาฝุ่นควัน PM 2.5 โดยมีค่าเฉลี่ย 4.31 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.65 อีกทั้งยังคงต้องการข้อมูลในการดูแลตนเองและจัดการกับปัญหาเมื่อต้องเผชิญกับฝุ่นควัน PM 2.5 รวมถึงการร่วมมือกันของทุกภาคส่วนในการป้องกันและลดปัญหาฝุ่นควัน PM 2.5 ดังนั้นจึงควรมีการให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากฝุ่นควัน PM 2.5 และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนร่วมมือกันในการป้องกันและลดปัญหาฝุ่นควัน PM 2.5

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2566). กก.วล. ยกระดับค่ามาตรฐาน PM 2.5 ราชกิจจาฯ ประกาศบังคับใช้แล้ว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.pcd.go.th/pcd_news/26385. (วันที่ ค้นข้อมูล: 24 สิงหาคม 2566).

ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณ และณัฐพศุตม์ ภัทธิราสินสิริ. (2563). แหล่งกำเนิด ผลกระทบและแนวทางจัดการฝุ่น ละออง PM 2.5 บริเวณภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 25(1), 461-74.

ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยและสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. (2566). แถลงการณ์จากราช

วิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมโรคระบบหายใจและ

เวชบำบัดวิกฤตในเด็ก สมาคมโรคภูมิแพ้ โรคหืดและวิทยาภูมิคุ้มกันแห่งประเทศไทย เรื่อง มลพิษ PM 2.5 ต่อสุขภาพเด็กและทารกในครรภ์ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thaipediatrics.org/?p=2258. (วันที่ค้นข้อมูล: 24 สิงหาคม 2566).

ศิริลักษณ์ เจริญรัมย์ และวิสาขา ภู่จินดา. (2564). ทัศนคติของประชาชนต่อแนวทางการแก้ไขฝุ่นละอองขนาดไม่

เกิน 2.5 ไมครอน กรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 15(2), 70-78.

สุภางค์พิมพ์ รัตตสัมพันธ์, นิธินันท์ ศิรบารมีสิทธิ์ และชนินทร รัตตสัมพันธ์. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างความ รอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันการสัมผัสฝุ่น PM 2.5 ของหญิงตั้งครรภ์ โรงพยาบาล ปทุมธานี. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 42 (3), 53-62.

สำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี (2563). จากไฟป่า ถึง PM 2.5 ปัญหาเร่งด่วนปัญหาที่ทุกคนต้อง ร่วมกันแก้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.pmdu.go.th/wildfire-to-pm2- 5. (วันที่ค้นข้อมูล: 10 พฤศจิกายน 2566).

สมฤกษ์ กาบกลาง, อภิญญา บ้านกลาง และนันธินีย์ วังนันท์. (2564). การรับรู้ผลกระทบต่อสุขภาพและ

พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอนของประชาชน ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย, 11(2), 115-123.

Erlingsson, C., & Brysiewicz, P. (2017). A hands-on guide to doing content analysis. African Journal

of Emergency Medicine, 7(3), 93-99.

Fold, N. R., Allison, M. R., Wood, B., Thao, P., Bonnet, S., Garivait, S., … Pengjan, S. (2020). An assessment of annual mortality attributable to ambient PM 2. 5 in Bangkok, Thailand. International journal of environmental research and public health, 17(7298), 1-13.

Good, C. V. (1973). Dictionary of education. New York: McGraw-Hill.

Ha, S., Hu, H., Roussos-Ros, D., Haidong, K., Roth, J., & Xu, X. (2015). The effects of air pollution

on adverse birth outcomes. Environment Research, 134, 198-204.

Hsieh, H. F., & Shannon, S. E. (2005). Three Approaches to Qualitative Content Analysis.

Qualitative Health Research, 15(9), 1277-1288.

Hu, H., Ha, S., Henderson, B. H., Warner, T. D., Roth, J., Kan, H., & Xu, X. (2015). Association of atmospheric particulate matter and ozone with gestational diabetes mellitus. Environmental Health Perspectives, 123(9), 853-859.

Li, C., Xu, J., Zhou, F., Ge, Y., Qin, K., Huang, H., & Wu, Y. (2023). Effects of particulate matter on

the risk of gestational hypertensive disorders and their progression. Environmental science & technology, 57, 4930-4939.

Li, Q., Wang, Y., Guo, Y., Zhou, H., Wang, X., Wang, Q., … Xu, M. (2018). Effect of airborne particulate matter of 2.5 μm or less on preterm birth: A national birth cohort study in China. Environment International, 121, 1128-1136.

Liu, C., Li, Q., Yan, L., Wang, H., Yu, J., Tang, J., … Guo, Y. (2019). The association between maternal exposure to ambient particulate matter of 2.5 μm or less during pregnancy and fetal congenital anomalies in Yinchuan, China: A population-based cohort study. Environment International, 122, 316–321.

Liu, H., Liao, J., Jiang, Y., Zhang, B., Yu, H., Kang, J., … Xu, S. (2019). Maternal exposure to fine particulate matter and the risk of fetal distress. Ecotoxicology and Environmental Safety. 170, 253-258.

Michikawa, T., Morokuma, S., Yamazaki, S., Yoshino, A., Sugata, S., Takami, A., … Nishiwaki, Y. (2020). Maternal exposure to fine particulate matter and its chemical components increasing the occurrence of gestational diabetes mellitus in pregnant Japanese women. Japan Medical Association, 5(4), 480-490.

Su, X., Zhao, Y., Yang, Y., & Hua, J. (2020). Correlation between exposure to fine particulate matter and hypertensive disorders of pregnancy in Shanghai, China. Environmental Health, 19(101), 1-8.

Su, Y., Li, C., Xu, J., Zhou, F., Li, T., Liu, C., … Huang, H. (2023). Associations between short-term and long-term exposure to particulate matter and preterm birth. Chemosphere, 313, 1-10.

United States Environmental Protection Agency. (2023). Particulate Matter (PM) Basics. [Online].

Available: https://www.epa.gov/pm-pollution/particulate-matter-pm-basics#PM. Accessed Aug. 23, 2023.

Wojtyla, C., Zielinska, K., Wojtyla-Buciora, P., & Panek, G. (2020). Prenatal fine particulate matter

(PM2.5) exposure and pregnancy outcomes-analysis of term pregnancies in Poland. Environmental Research and Public Health, 17, 1-10.

World Health Organization. (2019). Health effects of particulate matter. [Online]. Available: https://www.euro.who.int/__data/assets/pdf_file/ 0006/189051/ Health-effects-of-particulate- matter-final-Eng.pdf. Accessed Aug. 23, 2023.

Wu, J., Laurent, O., Li, L., Hu, J., & Kleeman, M. (2016). Adverse reproductive health outcomes and exposure to gaseous and particulate-matter air pollution in pregnant women (Research report). Boston: Health Effects Institute.

Zhang, M., Mueller, N. T., Wang, H., Hong, X., Appel, L. J., & Wang, X. (2018). Maternal exposure to ambient particulate matter ≤2.5 μm during pregnancy and the risk for high blood pressure in childhood. Hypertension, 72, 194-201.

Zhao, Y., Cai, J., Zhu, X., Donkelaar, A. V., Martin, R. V., Hua, J., & Kan, H. (2020). Fine particulate matter exposure and renal function: A population-based study among pregnant women in China. Environmental International, 141, 1-8.