การวิจัยผลของทฤษฎีการเรียนรู้แบบโอเวอร์เลิร์นนิงต่อความจำระยะยาวของคำเนื้อหาภาษาจีนของนักศึกษาไทย

ผู้แต่ง

  • Yuanyuan Chen มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ณัฐกานต์ ทวีวัฒนเศรษฐ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วริษา อัศวรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบโอเวอร์เลิร์นนิง, คำแท้ภาษาจีน, ความจำระยะยาว

บทคัดย่อ

   สำหรับนักศึกษาไทยที่กำลังเรียนภาษาจีน ผลของความจำระยะยาวของคำศัพท์มีอิทธิพลอย่างมากต่อผลโดยรวมของการเรียนรู้ภาษาจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับนักศึกษาไทยที่ต้องสอบ HSK แบบใหม่ การจำคำศัพท์ถือเป็นอุปสรรคสำคัญในการเรียนภาษาจีนอย่างไม่ต้องสงสัย ปริมาณความจำระยะยาวของคำศัพท์ภาษาจีนจะส่งผลโดยตรงต่อการสอบ

   งานวิจัยนี้ได้รับการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อความ วิธีสถิติจำแนก วิธีสำรวจแบบสอบถาม และวิธีการทดลอง เพื่อศึกษาผลของทฤษฎีการเรียนรู้แบบโอเวอร์เลิร์นนิงต่อความจำระยะยาวของคำเนื้อหาภาษาจีนในนักศึกษาไทย หวังว่าจะช่วยนักศึกษาไทยพัฒนาผลของการจำคำศัพท์ภาษาจีนในระยะยาว

   ผลการวิจัยพบว่า ทฤษฎีการเรียนรู้แบบโอเวอร์เลิร์นนิงมีผลกระทบเชิงบวกต่อความจำระยะยาวของ คำเนื้อหาภาษาจีนของนักศึกษาไทยใน 3-9 สัปดาห์ นอกจากนี้  คำเนื้อหาภาษาจีนที่กล่าวถึงในการวิจัยนี้รวมถึงคำนาม คำกริยา และคำคุณศัพท์ ในบรรดาคำเหล่านี้ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบโอเวอร์เลิร์นนิงมีผลสูงสุดต่อคำนาม มีผลสูงสุดรองลงมาต่อคำกริยา และมีผลน้อยที่สุดต่อคำคุณศัพท์ในความจำระยะยาวของคำแท้ภาษาจีนของนักศึกษาไทย

References

Chen, H. X. (2004, October). On The Alienation and Regulation of "Over-Learning". Contemporary Education Forum, 3(10), 43-44.

Chen, W., Zhang, G. B., &Xie, T. L. (2011, June-December). Study Approach Guide for Over-Learning Method. China Education Innovation Herald, 17(10), 131-132.

Cheng, S., T., &Sun,F. (1989, June-December). On The Base Degree, Value and Principles of "Over-Learning". Education Review, 4(6), 24-28.

Driskell, J., E., Willis, R.P., &Copper, C. (1992, January-June). Effect of Overlearning on Retention. Journal of Applied Psychology, 77, 615-622.

Gao, Q. (2018). A Study on The Effect of Overlearning on High School Students' English Vocabulary Long Term Memory. Master's thesis, Qufu Normal University.

He, Q. Q. (2008, January-June). A "Cognitive-Motivational" Model of Second Language Vocabulary Instruction. Language Teaching and Research, 29(3), 70-76.

Harmer, D., & Theodore S.R. (1990). Approaches and Methods in Language Teaching. Beijing: Foreign Language Teaching and Research Press and Cambridge University Press.

Li, Y. P. (2012). A Study of The Effects of Overlearning on Long Term Memory. Master's Thesis, Southwestern University of Finance and Economics.

Liu, J. J., &Li, G.Q. (2016, January-June). On Foreign Students’ Memory of Chinese Vocabulary Based on The Over Learning Principle. Journal of Honghe University, 14(3), 116-118.

Luo, H. (2008, March-April). A Review of Research on Second Language Vocabulary Acquisition. Foreign Language Education, 29(2), 46-50.

Peng, S., X., &Qin,R. (2012, August). The Effective Use of Vocabulary Learning Strategies in High School English Teaching. Journal of Inner Mongolia Normal University (Educational Science), 24(8), 129-131.

Song, Y. W. (2004, November). An Experimental Study of Intentional Forgetting Process Under Different Experimental Materials. Journal of Hebei University (Philosophy and Social Science Edition), 29(6), 102-105.

Wu, F. Y. (1965, January-June). About the Forgotten Curve Issue. Psychological Science Communication, 2(1), 31-32,68.

Wang Li. (1940). Chinese Modern Grammar. Beijing: United Publishing Company.

Xu, Q. (2017). An Experimental Study on the Effect of "Associative Memory" on College Students' Chinese Vocabulary Memory. Master's thesis, Xinjiang University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-31

How to Cite

Chen, Y., ทวีวัฒนเศรษฐ์ ณ., & อัศวรัตน์ ว. (2024). การวิจัยผลของทฤษฎีการเรียนรู้แบบโอเวอร์เลิร์นนิงต่อความจำระยะยาวของคำเนื้อหาภาษาจีนของนักศึกษาไทย. Lawarath Social E-Journal, 6(2), 137–152. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/lawarathjo/article/view/265905