การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง งานสร้างสรรค์จากดอกบัว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น วิทยาลัยนาฏศิลปะสุพรรณบุรี
การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง งานสร้างสรรค์จากดอกบัว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น วิทยาลัยนาฏศิลปะสุพรรณบุรี
คำสำคัญ:
Creating Products from Lotus Flowers, Development of a Training Curriculumบทคัดย่อ
The purposes of this research were to: 1) develop a training curriculum entitled “Creating Products from Lotus Flowers,” for lower secondary students, Suphanburi College of Dramatic Arts; and 2) investigate the results of the implementation of the training curriculum. The research sample consisted of 30 lower secondary school students who volunteered to participate in the training, from Suphanburi College of Dramatic Arts, during the second semester of the academic year 2016. The research instruments were: 1) a training curriculum, 2) an achievement test with a reliability value of 0.874, 3) a skills assessment form on creating products from lotus flowers, and 4) an attitude assessment form with a reliability value of 0.853.Data were analyzed in terms of mean, standard deviation, t-test and content analysis.
Findings revealed that: 1. The training curriculum consisted of these components: principles, objectives, curriculum structure, learning scope, training activities, media, materials and equipments measurement and evaluation, training time, training curriculum manual, training schedule, and training management plans. The components of the draft training curriculum were considered related and suitable. 2. The results of the implementation of the training curriculum were as follows: 1) The students’ learning achievement after the training higher than that before the training with statistically significant at the level of .05 2) The students’ skills in creating products from lotus flowers were at a good level; and 3) The students’ attitude towards creating products from lotus flowers was at a high level.
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551ก). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กริช อัมโภชน์. (2549). การสร้างหลักสูตรและโครงการฝึกอบรม ใน เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกอบรมหลักสูตรการบริหารงานฝึกอบรม. กรุงเทพฯ: สำนักฝึกอบรมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2553). การคิดเชิงสร้างสรรค์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.
ชนิสรา เทียมตระกูล. (2556). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง การจัดดอกไม้ในงานพิธีสำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ชาญชัย อาจิณสมาจาร. (2548). การฝึกอบรมและพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.
ชูจิตต์ เหล่าเจริญสุข. (2548). การพัฒนาหลักสูตร.สืบค้น ธันวาคม 15, 2555 จากhttp://yalor.yru.ac.th/chujitt/1ImportentOfCourse.htm.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2548). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิคม มูสิกะคามะ. (2545). วัฒนธรรม: บทบาทใหม่ในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ประไพ มะลิเสือ. (2553 การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่องขนมสาลี่เมืองสุพรรณ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4–6. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2554). หลักสูตรการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปราโมทย์ จันทร์เรือง. (2545). การพัฒนาหลักสูตรและเทคนิคการฝึกอบรม. ลพบุรี: คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏเทพสตรี.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2551). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.
พวงผกา ประเสริฐศิลป์. (2542). ประเพณีกับการเปลี่ยนแปลงตามกระแสวัฒนธรรมโลก.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎ
สวนดุสิต.
มณีรัตน์ จันทนะผะลิน. (2543). การจัดดอกไม้สด (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต.
เมธีณัฐ รัตนกุล. (2553). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้น เรื่อง การจัดดอกไม้ เพื่อการประกอบอาชีพ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
รัชนีวรรณ เพ็งปรีชา. (2554). ศิลปะการพับดอกบัว. กรุงเทพฯ: เพชรการเรือน.
วิชัย ประสิทธิวุฒิเวชช์. (2542). การพัฒนาหลักสูตรสานต่อที่ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:เลิฟแอนด์ลิพ เพรส.
วิศรุต วินิจฉัยกุล. (2551). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องพืชสมุนไพร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองบัวตากลาน จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
สมคิด เกตุทอง. (2556). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง การประดิษฐ์ต้นไม้มงคล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
สมคิด บางโม. (2545). เทคนิคการฝึกอบรมและการประชุม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ:จูนพับลิชชิ่ง.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545.กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สุภวรรณ เฟื่องฟู. (2555). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง การทำน้ำมันมะพร้าวผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
สุมิตร เทพวงษ์. (2548). นาฏศิลป์สำหรับครูประถมศึกษา-อุดมศึกษา.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
Goldstein, T. L. (1993). Training in organizations: Needs assessment, development, and evaluation (3rd ed.). Monterey, Calif: Brooks/Cole.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารลวะศรี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่าหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนาญาตจากวารสารวิชาการ ฯ ก่อนเท่านั้น เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ