ปัจจัยของความสำเร็จด้านการบริหารงานบุคคลตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี
ปัจจัยของความสำเร็จด้านการบริหารงานบุคคลตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี
คำสำคัญ:
ปัจจัยของความสำเร็จ, การบริหารงานบุคคล, ทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยของความสำเร็จด้านการบริหารงานบุคคล ตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี และ 2) เปรียบเทียบปัจจัยของความสำเร็จด้านการบริหารงานบุคคล ตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี จำแนกตาม ตำแหน่ง เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ขนาดของสถานศึกษา และสังกัดพื้นที่การศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี ในปีการศึกษา 2561 จำนวน 363 คน โดยการสุ่มแบบชั้นภูมิเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่น 0.944 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบค่าเฉลี่ยแบบเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยของความสำเร็จด้านการบริหารงานบุคคล ตามทัศนะของผู้บริหารสถาน ศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี สรุปในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 2) ทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่อปัจจัยของความสำเร็จด้านการบริหาร งานบุคคล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี ภาพรวมไม่แตกต่างกัน
References
_______. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กานดา พูนลาภทวี. (2539). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
เจริญ แก้วเรือง. (2559). ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดดอนสำโรง. สัมภาษณ์.
บรรยงค์ โตจินดา. (2543). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: อมร.
ประสงค์ เอี่ยมเวียง. (2548). การบริหารงานบุคคลในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เลย เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
พนม พงษ์ไพบูลย์. (2547). คู่มือบริหารโรงเรียนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2543). กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ในระดับบัณฑิตศึกษา. กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัย.
มงคล พระนคร. (2548). สภาพและปัญหาการบริหารงานบุคลากรในสถานศึกษาที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 3.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร.
มัณฑนา หริกจันทร์, ฐิติพร พิชญกุล, และอรสา โกศลานันทกุล. (2551). ปัญหาการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
รุ่ง แก้วแดง, และชัยณรงค์ สุวรรณสาร. (2546). โรงเรียนนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา.
วรภัทร์ ภู่เจริญ. (2542). คู่มือสำหรับผู้บริหารการศึกษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น.
สมชาย เทพแสง. (2548). โรงเรียนแห่งการเรียนรู้ (Learning School) กุญแจสำคัญในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน. วารสารวิชาการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ, 7(2), 10.
สมพร ใจคำปัน. (2547). การบริหารงานบุคลากรของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สวัสดิ์ อินทรศักดิ์. (2559). ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดทุ่งแฝก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. สัมภาษณ์.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1. (2559). สรุปข้อมูลพื้นฐาน. สืบค้น สิงหาคม 10, 2559, จาก www.suphan1.go.th/.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2. (2559). สรุปข้อมูลพื้นฐาน. สืบค้น สิงหาคม 10, 2559, จาก www.suphan2.go.th/.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3. (2559). สรุปข้อมูลพื้นฐาน. สืบค้น สิงหาคม 10, 2559, จาก www.suphan3.go.th/.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2553). รายงานสภาพการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน ปีงบประมาณ 2552. กรุงเทพฯ: แอร์บอรัน พริ้น.
สำนักงานปฏิรูปการศึกษา. (2545). ปัญจปฏิรูปการศึกษาแนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
สุรางค์ เข็มเพ็ชร. (2559). ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองราชวัตร. สัมภาษณ์.
สุริยา ไสยลาม. (2547). การศึกษาการบริหารงานบุคลากรในโรงเรียนประถมศึกษาของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สุวรีย์ ศิริโภคาภิรมย์. (2553). วิทยาการวิจัย. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
โสมนัส ทองงาม. (2546). แนวทางการบริหารบุคลากรครูของโรงเรียนอนุบาลเอกชนในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อุษา อำพันทอง. (2547). การสรรหาและการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาจากท้องถิ่นของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานช่วงชั้นที่ 1 - 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
Harris, Ben M. (1979a). Supervision behavior in education. Englewood cliffs. New Jersey: Prentice–Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารลวะศรี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่าหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนาญาตจากวารสารวิชาการ ฯ ก่อนเท่านั้น เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ